กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากล่อ


“ พัฒนาศักยภาพ อย. น้อย ”

โรงเรียนในเขตพื้นที่รับผิดชอบ ตำบลปากล่อ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางสาวเยาวรียูโซะ

ชื่อโครงการ พัฒนาศักยภาพ อย. น้อย

ที่อยู่ โรงเรียนในเขตพื้นที่รับผิดชอบ ตำบลปากล่อ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 61-PKL-02-11 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 14 มิถุนายน 2561 ถึง 21 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"พัฒนาศักยภาพ อย. น้อย จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน โรงเรียนในเขตพื้นที่รับผิดชอบ ตำบลปากล่อ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากล่อ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
พัฒนาศักยภาพ อย. น้อย



บทคัดย่อ

โครงการ " พัฒนาศักยภาพ อย. น้อย " ดำเนินการในพื้นที่ โรงเรียนในเขตพื้นที่รับผิดชอบ ตำบลปากล่อ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 61-PKL-02-11 ระยะเวลาการดำเนินงาน 14 มิถุนายน 2561 - 21 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 34,340.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากล่อ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตำบลปากล่อ มีการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ ควบคุมการผลิตของสถานประกอบการ สนับสนุนให้มีการขึ้นทะเบียนขออนุญาต อย การดำเนินการรับรองอาหารสะอาด รสชาติอร่อยของร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหาร การดำเนินงานทางด้านสาธารณสุขของอำเภอโคกโพธิ์มีนโยบายในการพัฒนาโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพโรงเรียนเด็กไทยได้ทำโครงการคุ้มครองผู้บริโภคในโรงเรียนหรือโครงการ อย.น้อย ซึ่งการดำเนินงาน อย.น้อยในโรงเรียนไม่ค่อยประสบความสำเร็จมากนัก ยังต้องมีการพัฒนาต่อไป เนื่องจากนักเรียนเป็นหน่วยขับเคลื่อนที่สำคัญในการดูแลสุขภาพในโรงเรียน ครัวเรือน และชุมชน ดังนั้นทางอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านร่วมกับเจ้าหน้าที่สาธารณสุขเล็งเห็นความสำคัญจึงได้จัดให้มีโครงการ พัฒนาศักยภาพ อย.น้อย ตำบลปากล่อขึ้นเพื่อให้มีการคุ้มครองผู้บริโภคในโรงเรียน สนับสนุนโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ และเด็กไทยทำได้เพื่อเพิ่มศักยภาพให้กับผู้บริโภคในการดูแลสุขภาพตนเองและคนในชุมชน ป้องกันตนเองให้พ้นจากโรคหรือภัยคุกคามสุขภาพได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้ครูมีความรู้และความเข้าใจที่ดีต่อการบริโภคอาหาร
  2. 2.เพื่อให้เด็กนักเรียนมีความรู้ความเข้าใจและสามารถเลือกบริโภคอาหารได้อย่างถูกต้อง
  3. 3.เพื่อให้เกิดโรงเรียนต้นแบบด้าน อย. น้อย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดอบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการด้าน อย.น้อย แก่ครูอนามัยโรงเรียนโดยวิทยากร
  2. จัดอบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการด้าน อย.น้อย แก่แกนนำนักเรียน โดยวิทยากร
  3. ติดตามและกระตุ้นของแกนนำนักเรียนประถมศึกษาทุก 15 วัน โดยทีม อสมร่วมกับเจ้าหน้าที่
  4. ประกวดโรงเรียนที่มีการดำเนินกิจกรรมคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพในโรงเรียน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 178
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.นักเรียน อย.น้อยมีศักยภาพในการดำเนินงานคุ้มครองบริโภคในโรงเรียนและสามารถดำเนินการอย่างต่อเนื่อง 2.เพื่อให้เด็กนักเรียน อย.น้อยมีความรู้หลังได้รับความรู้เพิ่มขึ้นร้อยละ 100 3.เกิดโรงเรียนต้นแบบ อย.น้อย 5 โรง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดอบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการด้าน อย. น้อย แก่คุณครูอนามัยโรงเรียนและแกนนำนักเรียน

วันที่ 14 มิถุนายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

1.เพื่อให้ครูมีความรู้และความเข้าใจที่ดีต่อการบริโภคอาหาร 2.เพื่อให้เด็กนักเรียนมีความรู้ความเข้าใจและสามารถเลือกบริโภคอาหารได้อย่างถูกต้อง 3.เพื่อให้เกิดโรงเรียนต้นแบบด้าน อย. น้อย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ครูมีความรู้ความเข้าใจการบริโภคอาหารมากขึ้น คิดเป็นร้อยละ 80 2.เด็กนักเรียนมีความเข้าใจเลือกบริโภคอาหารได้อย่างถูกต้อง คิดเป็นร้อยละ 80 3.เป็นโรงเรียนต้นแบบด้าน อย. น้อย คิดเป็นร้อยละ 100

 

8 0

2. จัดอบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการด้าน อย.น้อย แก่แกนนำนักเรียน โดยวิทยากร

วันที่ 15 มิถุนายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

1.เพื่อให้ครูมีความรู้และความเข้าใจที่ดีต่อการบริโภคอาหาร 2.เพื่อให้เด็กนักเรียนมีความรู้ความเข้าใจและสามารถเลือกบริโภคอาหารได้อย่างถูกต้อง 3.เพื่อให้เกิดโรงเรียนต้นแบบด้าน อย. น้อย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ครูมีความรู้ความเข้าใจกี่ยวกับการบริโภคอาหารมากขึ้น คิดเป็นร้อยละ 80 2.เด็กนักเรียนมีความเข้าใจเลือกบริโภคอาหารได้อย่างถูกต้อง คิดเป็นร้อยละ 80 3.เป็นโรงเรียนต้นแบบด้าน อย. น้อย คิดเป็นร้อยละ 100

 

160 0

3. ประกวดโรงเรียนที่มีการดำเนินกิจกรรมคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพในโรงเรียน

วันที่ 18 มิถุนายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

1.เพื่อให้ครูมีความรู้และความเข้าใจที่ดีต่อการบริโภคอาหาร 2.เพื่อให้เด็กนักเรียนมีความรู้ความเข้าใจและสามารถเลือกบริโภคอาหารได้อย่างถูกต้อง 3.เพื่อให้เกิดโรงเรียนต้นแบบด้าน อย. น้อย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ครูอนามัย โรงเรียนมีความรู้ความเข้าใจในเรื่อง อย. น้อย คิดเป็นร้อยละ 80 2.เด็กนักเรียนมีความเข้าใจเลือกบริโภคอาหารได้อย่างถูกต้อง คิดเป็นร้อยละ 80 3.เป็นโรงเรียนต้นแบบด้าน อย. น้อย คิดเป็นร้อยละ 100

 

0 0

4. ติดตามและกระตุ้นของแกนนำนักเรียนประถมศึกษาทุก 15 วัน โดยทีม อสมร่วมกับเจ้าหน้าที่

วันที่ 19 กรกฎาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

1.เพื่อให้ครูมีความรู้และความเข้าใจที่ดีต่อการบริโภคอาหาร 2.เพื่อให้เด็กนักเรียนมีความรู้ความเข้าใจและสามารถเลือกบริโภคอาหารได้อย่างถูกต้อง 3.เพื่อให้เกิดโรงเรียนต้นแบบด้าน อย. น้อย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1 ครูอนามัยรร มีความเข้าใจในการเลือกบริโภค คิดเป็นร้อยละ 80 2 เด็กสามารถเลือกบริโภคอาหารถถูกต้อง คิดเป็นร้อยละ 80 3 เกิดโรงเรียนในต้นแบบ อย น้อย คิดเป็นร้อยละ 100

 

10 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้ครูมีความรู้และความเข้าใจที่ดีต่อการบริโภคอาหาร
ตัวชี้วัด : ครูมีความรู้และความเข้าใจที่ดีต่อการบริโภคอาหารเพิ่มขึ้นร้อยละ 80
0.00

 

2 2.เพื่อให้เด็กนักเรียนมีความรู้ความเข้าใจและสามารถเลือกบริโภคอาหารได้อย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : เด็กนักเรียนมีความรู้ความเข้าใจและสามารถเลือกบริโภคอาหารได้อย่างถูกต้องร้อยละ 80
0.00

 

3 3.เพื่อให้เกิดโรงเรียนต้นแบบด้าน อย. น้อย
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของโรงเรียน เกิดเป็นโรงเรียนต้นแบบด้าน อย. น้อย
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 178
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 178
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ครูมีความรู้และความเข้าใจที่ดีต่อการบริโภคอาหาร (2) 2.เพื่อให้เด็กนักเรียนมีความรู้ความเข้าใจและสามารถเลือกบริโภคอาหารได้อย่างถูกต้อง (3) 3.เพื่อให้เกิดโรงเรียนต้นแบบด้าน อย. น้อย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการด้าน อย.น้อย แก่ครูอนามัยโรงเรียนโดยวิทยากร (2) จัดอบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการด้าน อย.น้อย แก่แกนนำนักเรียน โดยวิทยากร (3) ติดตามและกระตุ้นของแกนนำนักเรียนประถมศึกษาทุก 15 วัน โดยทีม อสมร่วมกับเจ้าหน้าที่ (4) ประกวดโรงเรียนที่มีการดำเนินกิจกรรมคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพในโรงเรียน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


พัฒนาศักยภาพ อย. น้อย จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 61-PKL-02-11

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวเยาวรียูโซะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด