กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาทอน


“ โครงการตรวจค้นหาโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมในกลุ่มเป้าหมายรายใหม่ที่มีอายุ ๓๐-๖๐ ปี ปี ๒๕๖๑ ”

ตำบลนาทอน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางสุภาพันธ์ เกื้อเดช

ชื่อโครงการ โครงการตรวจค้นหาโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมในกลุ่มเป้าหมายรายใหม่ที่มีอายุ ๓๐-๖๐ ปี ปี ๒๕๖๑

ที่อยู่ ตำบลนาทอน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2561 ถึง 31 สิงหาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการตรวจค้นหาโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมในกลุ่มเป้าหมายรายใหม่ที่มีอายุ ๓๐-๖๐ ปี ปี ๒๕๖๑ จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาทอน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาทอน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการตรวจค้นหาโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมในกลุ่มเป้าหมายรายใหม่ที่มีอายุ ๓๐-๖๐ ปี ปี ๒๕๖๑



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการตรวจค้นหาโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมในกลุ่มเป้าหมายรายใหม่ที่มีอายุ ๓๐-๖๐ ปี ปี ๒๕๖๑ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาทอน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2561 - 31 สิงหาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,900.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาทอน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

มะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม เป็นโรคมะเร็งที่พบมากเป็นอันดับ1 และ 2ของโรคมะเร็งทั้งหมดของสตรีไทยแต่ละปีมีสตรีทั่วโลกมากกว่า ๕ แสนคนต่อปี เป็นโรคนี้และร้อยละ ๘๐เกิดขึ้นในประเทศกำลังพัฒนา สำหรับประเทศไทยพบว่าโดยส่วนใหญ่มักจะเกิดในผู้หญิงวัยกลางคนอายุระหว่าง ๓๕-๕๕ ปีในแต่ละปีมีการตรวจพบมะเร็งปากมดลูกรายใหม่กว่า ๖,๐๐๐ รายและมีผู้เสียชีวิตจากโรคนี้ ๒,๖๐๐รายต่อปีกล่าวได้ว่าทุกๆวันจะมีสตรีไทยเสียชีวิตด้วยโรคมะเร็งปากมดลูกถึง ๗ คน/วัน เป็นสาเหตุการสูญเสียทรัพยากรมนุษย์จากโรคมะเร็งในมดลูกโรคมะเร็งที่พบรองลงมาโรคมะเร็งเต้านม, โรคมะเร็งช่องปาก,โรคมะเร็งปอด และโรคมะเร็งรังไข่ ฯลฯ ปัญหาดังกล่าวก่อให้เกิดความสูญเสียทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ และทางด้านเศรษฐกิจผู้ป่วยและญาติงบประมาณการรักษาเป็นอย่างมากในกรณีป่วยแล้วและการเสียชีวิตในระยะสุดท้ายสูงแต่จะสามารถป้องกันและรักษาให้หายขาดได้ถ้าพบผู้ป่วยโรคมะเร็งในระยะเริ่มแรกดังนั้นถ้าสามารถกระตุ้นให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้มีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับโรคดังกล่าวพร้อมทั้งตระหนักและเห็นถึงความสำคัญของการตรวจค้นหาโรคมะเร็งปากมดลูกและโรคมะเร็งเต้านมในระยะเริ่มแรกก็จะทำให้การเจ็บป่วยได้รับการดูแลและอัตราการตายจากโรคมะเร็งฯ ลดลงนั้น การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกเป็นการค้นหาผู้มีภาวะเสี่ยง หรือเจ็บป่วยในระยะเริ่มต้น จะทำการตรวจโดยวิธีการทำ แป็ปสเมียร์ (pap smear ) ซึ่งการตรวจวิธีดังกล่าวจะทำให้พบระยะก่อนเกิดโรคมะเร็ง และมะเร็งระยะเริ่มแรกและช่วยให้ทำการรักษาและป้องกันมะเร็งปากมดลูกในระยะเกิดมะเร็งระยะลุกลามได้จากปัญหาการตรวจคัดกรองกลุ่มเป้าหมายในการคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูก ในสตรีกลุ่มอายุ ๓๐-๖๐ ปี ในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านวังตงโดยเน้นการมีส่วนร่วมในการค้นหากลุ่มเป้าหมายในการเข้าสู่ระบบการคัดกรองให้ครอบคลุมประชากรกลุ่มดังกล่าวให้มากที่สุด โดยต้องทำซ้ำทุก ๕ ปี โดยมีแผนการป้องกันและควบคุมมะเร็งแห่งชาติตั้งแต่ปี ๒๕๔๑ซึ่งมีเป้าหมายว่าจะลดอัตราตายของสตรีไทยจากมะเร็งปากมดลูกลง ๕๐ % ภายในระยะเวลา ๕ ปี ( จำนวนประชากรกลุ่มเป้าหมายกลุ่มสตรีกลุ่มอายุ๓๐-๖๐ทั้งหมด 503 คน จะต้องได้ผลงานทั้งหมดจำนวน120 คน คิดเป็นร้อยละ 25 ต่อปี )และการตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตัวเองของสตรีกลุ่มอายุ๓๐-๗๐ปี จำนวน ๖๐๘ คนจะต้องได้ผลงานจากกลุ่มเป้าหมาย ๕๕๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๙๐ซึ่งจากการดำเนินการคัดกรอง มะเร็งปากมดลูกเริ่มตั้งแต่ปี ๒๔๙๕ โดยวิธี Papanicolaou (Pap smears)และได้ดำเนินการต่อเนื่องมาจนถึงปัจจุบันยังไม่ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมาย ยังพบว่าโรคมะเร็งปากมดลูกยังเป็นปัญหาสำคัญและอุบัติการณ์การเกิดมะเร็งปากมดลูกยังไม่ได้ลดลงในสตรีไทยปัจจุบันการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกสามารถทำได้โดยวิธี Papanicolaou (Pap smears)คือการค้นหาเนื้อเยื่อ(cell)ผิดปกติ ที่เปลี่ยนแปลงปากมดลูกถ้าเซลล์ผิดปกติเหล่านี้ไม่ได้รับการรักษาอาจเปลี่ยนแปลงไปเป็นเซลล์มะเร็งปากมดลูกได้ ซึ่งใช้เวลา ๕-๑๐ ปี ถ้ามีภาวะเสี่ยงก็อาจเกิดอาการเร็วขึ้นการคัดกรองไม่ได้ถูกต้องร้อยเปอร์เซ็นต์แต่ก็สามารถที่ จะช่วยป้องกันมะเร็งปากมดลูกส่วนใหญ่ได้ ถ้าสามารถค้นหาเซลล์ผิดปกติก่อนที่จะกลายเป็นเซลล์มะเร็งชนิดสแควร์มัส(Scquamous Cell Carcinoma)ซึ่งเป็นชนิดที่พบมากที่สุดของมะเร็งปากมดลูก ส่วนเซลล์ผิดปกติที่อยู่ในรูเปิดของปากมดลูก (Endocervical) จะพบน้อย (ประมาณร้อยละ ๒๐)และเซลล์ที่ผิดปกตินี้จะกลายเป็นมะเร็งปากมดลูกชนิด

Adenocarcinomaถ้าผลการตรวจคัดกรองพบว่าเซลล์ที่ปากมดลูกมีความผิดปกติ และมีข้อบ่งชี้ว่ารักษาโดยการจี้ด้วยความเย็นหรือต้องพบแพทย์เพื่อตรวจโดยวิธีอื่นต่อไป เพื่อค้นหาความผิดปกติอื่นเพื่อแนะนำการรักษาที่ดีที่สุดและสามารถลดงบประมาณในการรักษาพยาบาลแก่ผู้ป่วย และเพื่อให้การดำเนินงานการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในสตรีกลุ่มเป้าหมาย๓๐-๖๐ ปีของ รพ.สต.บ้านวังตง โดยวิธีPapanicolaou (Pap) smears ในสตรีกลุ่มเป้าหมาย ในปี ๒๕๖1 ซึ่งการดำเนินการคัดกรองให้ได้ตามเกณฑ์ชี้วัดในระดับจังหวัด ให้ได้ร้อยละ ๒๕ โดยอาศัยภาคีย์เครือข่ายในพื้นที่ มีการจัดประชาสัมพันธ์ สำรวจและเชิญชวนเข้าร่วมตรวจคัดกรองโดยความสมัครใจหรือการออกหน่วยบริการตรวจคัดกรองในพื้นที่โดยผ่านการนัดหมายจากกลุ่มภาคีย์เครือข่ายกลุ่มเจ้าหน้าที่ อสม.กลุ่มแม่บ้านสัตรีกลุ่มแกนนำสุขภาพประจำหมู่บ้านและรณรงค์การให้บริการอย่างต่อเนื่องดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านวังตงจึงได้จัดการรณรงค์ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ภายใต้โครงการโครงการตรวจค้นหาโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมในกลุ่มเป้าหมายรายใหม่ที่มีอายุ 30-70 ปี
ปี ๒๕๖1 โดยตรวจมะเร็งปากมดลูกด้วยวิธีPapanicolaou (Pap) smears ในกลุ่มอายุ ๓๐-๖๐ ปี และโดยวิธีตรวจเต้านมด้วยตนเองในกลุ่มอายุ ๓๐-๗๐ ปีเพื่อส่งเสริมให้ผู้หญิงไทยได้รับการตรวจหามะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมครอบคลุมสตรีกลุ่มเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายมีความรู้เรื่องมะเร็งปากมดลูก และรู้เรื่องมะเร็งเต้านมก่อนตรวจเต้านมด้วยตนเอง ตัวชี้วัดความสำเร็จ
  2. 1. เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายรับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก และตรวจเต้านมด้วยตนเอง
  3. 1.ในรายที่ตรวจพบความผิดปกติในระยะก่อนเป็นมะเร็งได้รับการส่งต่อและรับการรักษาที่ถูกต้องพร้อมได้รับการติดตามเยี่ยมโดยทีมสุขภาพ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1. ประชุมเชิงปฏิบัติการวิเคราะห์ปัญหาโรคมะเร็งในกลุ่มเสี่ยง ความเสี่ยงภัยต่อสุขภาพคนในหมู่บ้าน โดยอาศัยการติดตามของแกนนำในการเชิญชวน เข้ามาตรวจคัดกรองจากเจ้าหน้าที่ ครั้งละ 60 คน รวม 120 คน จำนวน 2 ครั้ง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. ประสิทธิผลจำนวนผู้เข้ารับบริการตรวจทางคลินิกได้ตามเป้าหมาย ๒. ประสิทธิภาพความสำเร็จเกิดจาการทำงานของทีมและภาคีย์เครือข่าย ๓. ความสัมฤทธิ์ผลจากการรายงานตามระบบรายงาน JHCIS


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 1. ประชุมเชิงปฏิบัติการวิเคราะห์ปัญหาโรคมะเร็งในกลุ่มเสี่ยง ความเสี่ยงภัยต่อสุขภาพคนในหมู่บ้าน

วันที่ 27 ธันวาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

  1. ประชาสัมพันธ์โครงการผ่าน อสม. แกนนำ ผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา หอกระจายข่าว คลื่นวิทยุชุมชน
  2. จัดประชุมชี้แจงอาสาสมัครสาธารณสุขทั้งตำบลในพื้นที่ดำเนินโครงการและจัดทำหนังสือประชาสัมพันธ์การตรวจคัดกรองกลุ่มเป้าหมายให้ อสม. ทุกคนเพื่อเข้าร่วมประชาสัมพันธ์โครงการในชุมชน หอกระจายข่าว
  3. จัดทำทะเบียนรายชื่อกลุ่มเป้าหมายให้ประธาน อสม. แต่ละหมู่เพื่อชี้แจงให้ อสม. แต่ละคนติดตาม กลุ่มเป้าหมายในหลังคาเรือนที่รับผิดชอบมารับบริการตรวจคัดกรอง และติดตามกลุ่มเป้าหมายที่รับบริการที่สถานบริการอื่น
  4. เจ้าหน้าที่ร่วมกับ อสม. และครอบครัวสตรี ร่วมค้นหากลุ่มเป้าหมายในชุมชน
  5. จัดอบรมให้ความรู้ก่อน มะเร็งปากและมะเร็งเต้านมแก่สตรีกลุ่มเป้าหมาย
  6. จัดทำคลินิคตรวจมะเร็งปากมดลูกในสถานบริการ และเตรียมอุปกรณ์ออกตรวจในพื้นที่
  7. สร้างแรงจูงใจให้กลุ่มแกนนำ อสม. ช่วยเชิญชวนกลุ่มเป้าหมายให้มารับบริการด้วยตัวเอง
  8. จัดทำข้อมูลเข้ารับการตรวจ สรุปผลการตรวจ เมื่อพบผู้สงสัย มีผลบวก ส่งไปรับการวินิจฉัยและรักษาต่อไปตามระบบส่งต่อ
  9. จัดทีมออกติดตามเยี่ยมบ้านกลุ่มเป้าหมาย มีเจ้าหน้าที่ ภาคีย์เคลือข่ายเข้าร่วม
  10. สรุปและประเมินผลโครงการมอบของขวัญให้แก่ อสม. ที่ประสานนำส่งสตรีกลุ่มเป้าหมาย
    รายละเอียดงบประมาณ

- ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 124 คนๆละ 1 มื้อๆละ 60 บาท เป็นเงิน 7,440 บาท
- ค่าอาหารว่าง จำนวน 140 คนๆละ 2 มื้อๆละ 20 บาท เป็นเงิน 4960 บาท
- ค่าวิทยากร ชั่วโมงละ 300 บาทจำนวน 2 คนๆละ 6 ชั่วโมง เป็นเงิน 3600 บาท
- ค่าวัสดุและเอกสาร 4400 บาท
- ค่าป้ายโครงการ 500 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-

 

60 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายมีความรู้เรื่องมะเร็งปากมดลูก และรู้เรื่องมะเร็งเต้านมก่อนตรวจเต้านมด้วยตนเอง ตัวชี้วัดความสำเร็จ
ตัวชี้วัด : 1 ร้อยละ 25 ของ สตรีอายุ ๓๐-๖๐ ปี จำนวน 120คน จากกลุ่มเป้าหมายตรวจมะเร็งปากมดลูก 503 คน
90.00

 

2 1. เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายรับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก และตรวจเต้านมด้วยตนเอง
ตัวชี้วัด : 2. ร้อยละ ๒๕ ของ สตรีอายุ ๓๐-๖๐ ปี จำนวน ๑20 คน จากกลุ่มเป้าหมายตรวจมะเร็งปากมดลูก 503 คน
90.00

 

3 1.ในรายที่ตรวจพบความผิดปกติในระยะก่อนเป็นมะเร็งได้รับการส่งต่อและรับการรักษาที่ถูกต้องพร้อมได้รับการติดตามเยี่ยมโดยทีมสุขภาพ
ตัวชี้วัด : 3.ร้อยละ ๙๐ ของสตรีกลุ่มอายุ ๓๐-๗๐ ปี จำนวน 560 คน จากกลุ่มเป้าหมายตรวจมะเร็งเต้านม ๖๐๘ คน
90.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายมีความรู้เรื่องมะเร็งปากมดลูก และรู้เรื่องมะเร็งเต้านมก่อนตรวจเต้านมด้วยตนเอง ตัวชี้วัดความสำเร็จ (2) 1. เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายรับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก และตรวจเต้านมด้วยตนเอง (3) 1.ในรายที่ตรวจพบความผิดปกติในระยะก่อนเป็นมะเร็งได้รับการส่งต่อและรับการรักษาที่ถูกต้องพร้อมได้รับการติดตามเยี่ยมโดยทีมสุขภาพ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. ประชุมเชิงปฏิบัติการวิเคราะห์ปัญหาโรคมะเร็งในกลุ่มเสี่ยง ความเสี่ยงภัยต่อสุขภาพคนในหมู่บ้าน โดยอาศัยการติดตามของแกนนำในการเชิญชวน เข้ามาตรวจคัดกรองจากเจ้าหน้าที่ ครั้งละ 60 คน รวม 120 คน จำนวน 2 ครั้ง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการตรวจค้นหาโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมในกลุ่มเป้าหมายรายใหม่ที่มีอายุ ๓๐-๖๐ ปี ปี ๒๕๖๑ จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสุภาพันธ์ เกื้อเดช )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด