กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ อบรมเชิงปฏิบัติการการเฝ้าระวังและดูแลสตรีไทยจากโรคมะเร็งเต้านม หมู่ที่ ๙ บ้านราวปลา ตำบลทุ่งหว้า ประจำปี ๒๕๖๑ ”
ตำบลทุ่งหว้า อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล



หัวหน้าโครงการ
อสม.หมู่ที่ 9




ชื่อโครงการ อบรมเชิงปฏิบัติการการเฝ้าระวังและดูแลสตรีไทยจากโรคมะเร็งเต้านม หมู่ที่ ๙ บ้านราวปลา ตำบลทุ่งหว้า ประจำปี ๒๕๖๑

ที่อยู่ ตำบลทุ่งหว้า อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 61-L5293-2-04 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 กรกฎาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561

กิตติกรรมประกาศ

"อบรมเชิงปฏิบัติการการเฝ้าระวังและดูแลสตรีไทยจากโรคมะเร็งเต้านม หมู่ที่ ๙ บ้านราวปลา ตำบลทุ่งหว้า ประจำปี ๒๕๖๑ จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งหว้า อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งหว้า ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
อบรมเชิงปฏิบัติการการเฝ้าระวังและดูแลสตรีไทยจากโรคมะเร็งเต้านม หมู่ที่ ๙ บ้านราวปลา ตำบลทุ่งหว้า ประจำปี ๒๕๖๑



บทคัดย่อ

โครงการ " อบรมเชิงปฏิบัติการการเฝ้าระวังและดูแลสตรีไทยจากโรคมะเร็งเต้านม หมู่ที่ ๙ บ้านราวปลา ตำบลทุ่งหว้า ประจำปี ๒๕๖๑ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งหว้า อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 61-L5293-2-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 กรกฎาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 29,700.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งหว้า เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคมะเร็งเต้านมเป็นโรคที่พบในอันดับต้นๆ ของสตรีทั่วโลก สำหรับประเทศไทยพบเป็นสาเหตุการตายอันดับหนึ่งของสตรีไทยและมีแนวโน้มพบผู้ป่วยเพิ่มสูงขึ้นทุกปีทั้งนี้การได้เฝ้าระวังดูแลสตรีไทยจากมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง เป็นสิ่งสำคัญที่จะช่วยลดอัตราการเกิดโรคมะเร็งเต้านม ในสตรีกลุ่มเสี่ยงโดยเฉพาะสตรีอายุตั้งแต่ ๓๐ – ๗๐ปี ควรได้รับการตรวจคัดกรองเต้านมด้วยตนเองเป็นประจำทุกเดือนเพื่อเฝ้าระวังและป้องกันโรคมะเร็งเต้านมในระยะเริ่มต้น การได้ถ่ายทอดความรู้ และฝึกทักษะการตรวจเต้านมด้วยตนเองเพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายสามารถ ดูแลตนเองได้เบื้องต้น มีความรู้และทักษะที่ถูกต้องในการเฝ้าระวังโรคมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง และเมื่อพบความผิดปกติสามารถไปพบแพทย์หรือเจ้าหน้าที่สาธารณสุขเพื่อรับการตรวจวินิจฉัยและรักษาต่อไป
ปัจจุบันหมู่บ้านราวปลามีผู้ป่วยมะเร็งเต้านม ๒ ราย และตรวจพบสตรีที่มีก้อนผิดปกติ ๓ รายดังนั้นเพื่อเป็นการเฝ้าระวังและค้นหาผู้ป่วยรายใหม่ตลอดจนให้ความรู้แก่สตรีในพื้นที่เรื่องโรคมะเร็งเต้านมและสอนทักษะการตรวจเต้านมด้วยตนเองอย่างถูกต้องอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านหมู่ที่ ๙ บ้านราวปลาจึงจัดทำโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการเฝ้าระวังและดูแลสตรีไทยจากโรคมะเร็งเต้านมหมู่ที่ ๙ บ้านราวปลาตำบลทุ่งหว้า ประจำปี ๒๕๖๑ ขึ้น เพื่อถ่ายทอดความรู้และทักษะการตรวจเต้านมด้วยตนเองแก่สตรีที่มีอายุตั้งแต่ ๓๐ – ๗๐ ปีจำนวน ๒๑๐ คน (ร้อยละ ๘๐ ของกลุ่มเป้าหมาย จำนวน ๑๖๘ คน)อันจะส่งผลให้สตรีในพื้นที่ได้รับความรู้และมีพฤติกรรมการตรวจเต้านมด้วยตนเองอย่างถูกต้อง สม่ำเสมอ และค้นหาความผิดปกติของเต้านมในระยะแรกๆเพื่อทำการรักษาได้อย่างทันท่วงที

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่ ๑. เพื่อให้สตรีอายุ ๓๐ – ๗๐ ปี มีความรู้ในเรื่องของโรคมะเร็งเต้านม
  2. ข้อที่ ๒. เพื่อให้สตรีอายุ ๓๐ – ๗๐ ปี สามารถดูแลตนเองและทักษะในการตรวจเต้านมด้วย ตนเองเป็นประจำทุกเดือน
  3. ข้อที่ ๓. เพื่อค้นหาผู้ที่มีภาวะเสี่ยง หรือความผิดปกติระยะเริ่มต้นต่อโรคมะเร็งเต้านม ได้รับการขึ้นทะเบียน เฝ้าระวังโรค
  4. ข้อที่ ๔. เพื่อให้ผู้ที่สงสัยจะป่วยหรือเป็นโรคได้รับการส่งต่อเพื่อการรักษาตามแนวทางที่ถูกต้อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมเชิงปฏิบัติการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 168
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

สตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ ๓๐ – ๗๐ปี (๑๖๘ คน) มีความรู้เกี่ยวกับโรคมะเร็งเต้านมสามารถดูแลตนเองและมีทักษะในการตรวจเต้านมด้วยตนเองเป็นประจำทุกเดือนอย่างถูกต้องสามารถค้นหาผู้ที่มีภาวะเสี่ยง หรือความผิดปกติระยะเริ่มต้นต่อโรคมะเร็งเต้านม ผู้ที่สงสัยจะป่วยหรือเป็นโรคได้รับการส่งต่อเพื่อการรักษาตามแนวทางที่ถูกต้อง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ ๑. เพื่อให้สตรีอายุ ๓๐ – ๗๐ ปี มีความรู้ในเรื่องของโรคมะเร็งเต้านม
ตัวชี้วัด : ข้อที่ ๑. สตรีอายุ ๓๐ – ๗๐ ปี (ร้อยละ ๘๐ ของกลุ่มเป้าหมาย จำนวน ๑๖๘ คน) มีความรู้ในเรื่องของโรคมะเร็งเต้านม
0.00

 

2 ข้อที่ ๒. เพื่อให้สตรีอายุ ๓๐ – ๗๐ ปี สามารถดูแลตนเองและทักษะในการตรวจเต้านมด้วย ตนเองเป็นประจำทุกเดือน
ตัวชี้วัด : ข้อที่ ๒. สตรีอายุ ๓๐ – ๗๐ ปี (ร้อยละ ๘๐ ของกลุ่มเป้าหมาย จำนวน ๑๖๘ คน) สามารถตรวจเต้านมด้วยตนเองอย่างถูกต้องเป็นประจำทุกเดือนโดยมีการติดตามจากอสม.และเจ้าหน้าที่
0.00

 

3 ข้อที่ ๓. เพื่อค้นหาผู้ที่มีภาวะเสี่ยง หรือความผิดปกติระยะเริ่มต้นต่อโรคมะเร็งเต้านม ได้รับการขึ้นทะเบียน เฝ้าระวังโรค
ตัวชี้วัด : ข้อที่ ๓. อสม.สามารถค้นหาสตรีที่มีภาวะผิดปกติของเต้านม ขึ้นทะเบียนกลุ่มเสี่ยง และเฝ้าระวังโรคมะเร็งเต้านม
0.00

 

4 ข้อที่ ๔. เพื่อให้ผู้ที่สงสัยจะป่วยหรือเป็นโรคได้รับการส่งต่อเพื่อการรักษาตามแนวทางที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ข้อที่ ๔. สตรีที่ตรวจพบความผิดปกติได้รับการส่งต่อเพื่อการรักษาตามแนวทาง ๑๐๐ %
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 168
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 168
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ ๑. เพื่อให้สตรีอายุ ๓๐ – ๗๐ ปี  มีความรู้ในเรื่องของโรคมะเร็งเต้านม (2) ข้อที่ ๒. เพื่อให้สตรีอายุ ๓๐ – ๗๐ ปี  สามารถดูแลตนเองและทักษะในการตรวจเต้านมด้วย ตนเองเป็นประจำทุกเดือน (3) ข้อที่ ๓. เพื่อค้นหาผู้ที่มีภาวะเสี่ยง หรือความผิดปกติระยะเริ่มต้นต่อโรคมะเร็งเต้านม ได้รับการขึ้นทะเบียน  เฝ้าระวังโรค (4) ข้อที่ ๔. เพื่อให้ผู้ที่สงสัยจะป่วยหรือเป็นโรคได้รับการส่งต่อเพื่อการรักษาตามแนวทางที่ถูกต้อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมเชิงปฏิบัติการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


อบรมเชิงปฏิบัติการการเฝ้าระวังและดูแลสตรีไทยจากโรคมะเร็งเต้านม หมู่ที่ ๙ บ้านราวปลา ตำบลทุ่งหว้า ประจำปี ๒๕๖๑ จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 61-L5293-2-04

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( อสม.หมู่ที่ 9 )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด