โครงการเด็กตะแพนฟันดีมีสุข
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการเด็กตะแพนฟันดีมีสุข ”
ตำบลตะแพน อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตะแพน
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะแพน
กรกฎาคม 2561
ชื่อโครงการ โครงการเด็กตะแพนฟันดีมีสุข
ที่อยู่ ตำบลตะแพน อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 61-L3368-1(6) เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 11 กรกฎาคม 2561 ถึง 25 กรกฎาคม 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเด็กตะแพนฟันดีมีสุข จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตะแพน อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะแพน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเด็กตะแพนฟันดีมีสุข
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเด็กตะแพนฟันดีมีสุข " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตะแพน อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 61-L3368-1(6) ระยะเวลาการดำเนินงาน 11 กรกฎาคม 2561 - 25 กรกฎาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 21,860.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะแพน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สุขภาพช่องปากมีความสัมพันธ์กับสุขภาพร่างกาย การดูแลสุขภาพช่องปากให้ดีจึงมีผลต่อการมีสุขภาพกายที่ดีด้วย แต่ปัญหาสุขภาพช่องปากนั้นไม่ได้มีสาเหตุเกิดจากภายในช่องปากเพียงอย่างเดียว แต่มีตัวปัญหาซึ่งเกิดจากสภาพสังคมและสิ่งแวดล้อมในปัจจุบันด้วย ยกตัวอย่างเช่นโรคฟันผุซึ่งเป็นปัญหาในช่องปากที่พบได้ทั่วไป ก็มีปัจจัยร่วมหลายๆ อย่างที่ส่งเสริมให้เกิดโรคนอกเหนือไปจากเชื้อโรคในช่องปากเช่น อาจมาจากตัวบุคคลเองที่ขาดความรู้ความเข้าใจในเรื่องของสุขภาพช่องปากและการทำความสะอาดช่องปากของตนเองการอยู่ในครอบครัวที่ขาดการดูแลเอาใจใส่ หรือ สภาพความเป็นอยู่ของครอบครัวที่ไม่เอื้อต่อการใส่ใจสุขภาพช่องปาก นอกจากนี้สื่อโฆษณาเกี่ยวกับอาหารและเครื่องดื่มก็มีอิทธิพลอย่างมากในสังคมปัจจุบันสภาพเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรมต่างๆ ล้วนมีส่วนที่ทำให้เกิดโรคได้เช่นกัน
จากการตรวจสุขภาพช่องปากนักเรียนตามระบบเฝ้าระวังทันตสุขภาพในโรงเรียนประถมศึกษาเขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตะแพน 3ปีย้อนหลังพบว่า ปีพ.ศ.2558 พบว่านักเรียนป.1- ป.6 มีฟันแท้ผุจำนวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 13.99 ปีพ.ศ.2559 นักเรียนป.1-ป.6มีฟันแท้ผุจำนวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 6.25 และปีพ.ศ.2560 นักเรียนป.1-ป.6มีฟันแท้ผุจำนวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 4.27 จากข้อมูลดังกล่าว มีแนวโน้มลดน้อยลง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตะแพน จึงได้จัดทำโครงการเด็กตะแพนฟันดี มีสุข ประจำปี 2561 ขึ้น เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพช่องปาก และแปรงฟันที่ถูกวิธี เพื่อกำจัดคราบจุลินทรีย์บนตัวฟัน ป้องกันโรคฟันผุ โรคเหงือกอักเสบ อย่างต่อเนื่องโดยได้จัดกิจกรรมที่สนุก เน้นการมีส่วนร่วม สอดแทรกไปกับความรู้ต่างๆ เพื่อให้เด็กได้รู้สึกว่าเรื่องต่างๆเหล่านี้ไม่ได้ไกลตัวและยากอย่างที่คิดและเพื่อให้เด็กนักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมสามารถนำความรู้และประสบการณ์ไปเผยแพร่ยังกลุ่มเพื่อนตลอดจนผู้ใกล้ชิดต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1.ดำเนินการตรวจสุขภาพช่องปากเบื้องต้น 2.ให้การรักษาทางทันตกรรมโดยเจ้าหน้าที่ทันตสาธารณสุขและส่งต่อพบทันตแพทย์เข้ารับการรักษา 4. จัดมหกรรม”เด็กตะแพนฟันดีมีสุข” เพื่อสร้างกระแสการดูแลสุขภาพช่องปากในกลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
236
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- กลุ่มเป้าหมายมีความรู้และตระหนักในการดูแลสุขภาพช่องปาก และมีการแปรงฟันที่ถูกวิธีมีคุณภาพ
- กลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากเบื้องต้นทุกราย
- ผู้มีเป็นปัญหาทางทันตกรรม ได้รับการรักษาทุกราย
- ลดอัตราการเกิดโรคในช่องปากของกลุ่มเป้าหมาย
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. 1.ดำเนินการตรวจสุขภาพช่องปากเบื้องต้น 2.ให้การรักษาทางทันตกรรมโดยเจ้าหน้าที่ทันตสาธารณสุขและส่งต่อพบทันตแพทย์เข้ารับการรักษา 4. จัดมหกรรม”เด็กตะแพนฟันดีมีสุข” เพื่อสร้างกระแสการดูแลสุขภาพช่องปากในกลุ่มเป้าหมาย
วันที่ 11 กรกฎาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
- ตรวจสุขภาพช่องปากเบื้องต้นและให้ความรู้เรื่องทันตสุขศึกษาแก่นักเรียนอนุบาล1 - ป.6
ในวันที่ 11 กรกฎาคม 2561
- ให้การรักษาทางทันตกรรมโดยเจ้าหน้าที่ทันตสาธารณสุข ที่ รพ.สต.ตำบลตะแพน
ในวันที่ 12 – 14 กรกฎาคม 2561
- ส่งต่อพบทันตแพทย์ ในรายที่มีปัญหา เกินขีดความสามารถของเจ้าหน้าที่ทันตสาธารณสุข
- จัดมหกรรมเด็กตะแพนฟันดีมีสุข ในวันที่ 25 กรกฎาคม 2561
- มอบอุปกรณ์การแปรงฟันให้นักเรียนทุกคน
- ประกวดคำขวัญ/เรียงความ
- ถาม-ตอบปัญหาเกี่ยวกับสุขภาพช่องปาก
- การแสดงละคร(นร.ป.4-ป.6)
- ประกวดหนูน้อยฟันดี(นร.ป.1 – ป.6)
- ประกวดระบายสี (นร.ชั้นอนุบาล,ป.1-ป.3)
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- กลุ่มเป้าหมายมีความรู้และตระหนักในการดูแลสุขภาพช่องปาก และมีการแปรงฟันที่ถูกวิธีมีคุณภาพ
- กลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากเบื้องต้นทุกราย
- ผู้มีเป็นปัญหาทางทันตกรรม ได้รับการรักษาทุกราย
- ลดอัตราการเกิดโรคในช่องปากของกลุ่มเป้าหมาย
236
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
- กลุ่มเป้าหมายมีความรู้และตระหนักในการดูแลสุขภาพช่องปาก และมีการแปรงฟันที่ถูกวิธีมีคุณภาพ
- กลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากเบื้องต้นทุกราย
- ผู้มีเป็นปัญหาทางทันตกรรม ได้รับการรักษาทุกราย
- ลดอัตราการเกิดโรคในช่องปากของกลุ่มเป้าหมาย
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
236
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
236
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.ดำเนินการตรวจสุขภาพช่องปากเบื้องต้น 2.ให้การรักษาทางทันตกรรมโดยเจ้าหน้าที่ทันตสาธารณสุขและส่งต่อพบทันตแพทย์เข้ารับการรักษา 4. จัดมหกรรม”เด็กตะแพนฟันดีมีสุข” เพื่อสร้างกระแสการดูแลสุขภาพช่องปากในกลุ่มเป้าหมาย
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการเด็กตะแพนฟันดีมีสุข จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 61-L3368-1(6)
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตะแพน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการเด็กตะแพนฟันดีมีสุข ”
ตำบลตะแพน อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตะแพน
กรกฎาคม 2561
ที่อยู่ ตำบลตะแพน อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 61-L3368-1(6) เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 11 กรกฎาคม 2561 ถึง 25 กรกฎาคม 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเด็กตะแพนฟันดีมีสุข จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตะแพน อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะแพน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเด็กตะแพนฟันดีมีสุข
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเด็กตะแพนฟันดีมีสุข " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตะแพน อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 61-L3368-1(6) ระยะเวลาการดำเนินงาน 11 กรกฎาคม 2561 - 25 กรกฎาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 21,860.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะแพน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สุขภาพช่องปากมีความสัมพันธ์กับสุขภาพร่างกาย การดูแลสุขภาพช่องปากให้ดีจึงมีผลต่อการมีสุขภาพกายที่ดีด้วย แต่ปัญหาสุขภาพช่องปากนั้นไม่ได้มีสาเหตุเกิดจากภายในช่องปากเพียงอย่างเดียว แต่มีตัวปัญหาซึ่งเกิดจากสภาพสังคมและสิ่งแวดล้อมในปัจจุบันด้วย ยกตัวอย่างเช่นโรคฟันผุซึ่งเป็นปัญหาในช่องปากที่พบได้ทั่วไป ก็มีปัจจัยร่วมหลายๆ อย่างที่ส่งเสริมให้เกิดโรคนอกเหนือไปจากเชื้อโรคในช่องปากเช่น อาจมาจากตัวบุคคลเองที่ขาดความรู้ความเข้าใจในเรื่องของสุขภาพช่องปากและการทำความสะอาดช่องปากของตนเองการอยู่ในครอบครัวที่ขาดการดูแลเอาใจใส่ หรือ สภาพความเป็นอยู่ของครอบครัวที่ไม่เอื้อต่อการใส่ใจสุขภาพช่องปาก นอกจากนี้สื่อโฆษณาเกี่ยวกับอาหารและเครื่องดื่มก็มีอิทธิพลอย่างมากในสังคมปัจจุบันสภาพเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรมต่างๆ ล้วนมีส่วนที่ทำให้เกิดโรคได้เช่นกัน
จากการตรวจสุขภาพช่องปากนักเรียนตามระบบเฝ้าระวังทันตสุขภาพในโรงเรียนประถมศึกษาเขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตะแพน 3ปีย้อนหลังพบว่า ปีพ.ศ.2558 พบว่านักเรียนป.1- ป.6 มีฟันแท้ผุจำนวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 13.99 ปีพ.ศ.2559 นักเรียนป.1-ป.6มีฟันแท้ผุจำนวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 6.25 และปีพ.ศ.2560 นักเรียนป.1-ป.6มีฟันแท้ผุจำนวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 4.27 จากข้อมูลดังกล่าว มีแนวโน้มลดน้อยลง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตะแพน จึงได้จัดทำโครงการเด็กตะแพนฟันดี มีสุข ประจำปี 2561 ขึ้น เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพช่องปาก และแปรงฟันที่ถูกวิธี เพื่อกำจัดคราบจุลินทรีย์บนตัวฟัน ป้องกันโรคฟันผุ โรคเหงือกอักเสบ อย่างต่อเนื่องโดยได้จัดกิจกรรมที่สนุก เน้นการมีส่วนร่วม สอดแทรกไปกับความรู้ต่างๆ เพื่อให้เด็กได้รู้สึกว่าเรื่องต่างๆเหล่านี้ไม่ได้ไกลตัวและยากอย่างที่คิดและเพื่อให้เด็กนักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมสามารถนำความรู้และประสบการณ์ไปเผยแพร่ยังกลุ่มเพื่อนตลอดจนผู้ใกล้ชิดต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1.ดำเนินการตรวจสุขภาพช่องปากเบื้องต้น 2.ให้การรักษาทางทันตกรรมโดยเจ้าหน้าที่ทันตสาธารณสุขและส่งต่อพบทันตแพทย์เข้ารับการรักษา 4. จัดมหกรรม”เด็กตะแพนฟันดีมีสุข” เพื่อสร้างกระแสการดูแลสุขภาพช่องปากในกลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 236 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- กลุ่มเป้าหมายมีความรู้และตระหนักในการดูแลสุขภาพช่องปาก และมีการแปรงฟันที่ถูกวิธีมีคุณภาพ
- กลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากเบื้องต้นทุกราย
- ผู้มีเป็นปัญหาทางทันตกรรม ได้รับการรักษาทุกราย
- ลดอัตราการเกิดโรคในช่องปากของกลุ่มเป้าหมาย
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. 1.ดำเนินการตรวจสุขภาพช่องปากเบื้องต้น 2.ให้การรักษาทางทันตกรรมโดยเจ้าหน้าที่ทันตสาธารณสุขและส่งต่อพบทันตแพทย์เข้ารับการรักษา 4. จัดมหกรรม”เด็กตะแพนฟันดีมีสุข” เพื่อสร้างกระแสการดูแลสุขภาพช่องปากในกลุ่มเป้าหมาย |
||
วันที่ 11 กรกฎาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
236 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
- กลุ่มเป้าหมายมีความรู้และตระหนักในการดูแลสุขภาพช่องปาก และมีการแปรงฟันที่ถูกวิธีมีคุณภาพ
- กลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากเบื้องต้นทุกราย
- ผู้มีเป็นปัญหาทางทันตกรรม ได้รับการรักษาทุกราย
- ลดอัตราการเกิดโรคในช่องปากของกลุ่มเป้าหมาย
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย |
---|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 236 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 236 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.ดำเนินการตรวจสุขภาพช่องปากเบื้องต้น 2.ให้การรักษาทางทันตกรรมโดยเจ้าหน้าที่ทันตสาธารณสุขและส่งต่อพบทันตแพทย์เข้ารับการรักษา 4. จัดมหกรรม”เด็กตะแพนฟันดีมีสุข” เพื่อสร้างกระแสการดูแลสุขภาพช่องปากในกลุ่มเป้าหมาย
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการเด็กตะแพนฟันดีมีสุข จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 61-L3368-1(6)
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตะแพน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......