กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาทอน


“ โครงการเสริมทักษะชีวิตเยาวชนวัยรุ่น ”

ตำบลนาทอน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางสุรัชดาสุวรรณรัตน์ พยาบาลวิชาชีพ รพ.สต.บ้านวังตง

ชื่อโครงการ โครงการเสริมทักษะชีวิตเยาวชนวัยรุ่น

ที่อยู่ ตำบลนาทอน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 61-L5294-1-11 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2561 ถึง 31 กรกฎาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเสริมทักษะชีวิตเยาวชนวัยรุ่น จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาทอน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาทอน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเสริมทักษะชีวิตเยาวชนวัยรุ่น



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเสริมทักษะชีวิตเยาวชนวัยรุ่น " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาทอน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 61-L5294-1-11 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2561 - 31 กรกฎาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 18,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาทอน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในสังคมไทยในปัจจุบันนักเรียนส่วนใหญ่ขาดจิตสำนึกต่อส่วนรวม ไม่มีความเมตตากรุณา เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ และเสียสละเพื่อส่วนรวม ไม่เป็นผู้รับใช้ที่ดีของเพื่อนร่วมสังคมและละเลยที่กระทำความดี ไม่เลือกตัดสินใจมีค่านิยมและคติประจำใจที่ดีการปฏิบัติตนไม่เป็นแบบอย่างที่ดีต่อผู้อ่อนวัยมีจรรยามารยาทเป็นสุภาพชนและเป็นที่ยอมรับของสังคม ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านวังตงและโรงเรียนท่าศิลาบำรุงราษฎร์ เห็นความสำคัญในการจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมให้นักเรียนมีความโอบอ้อมอารี ช่วยเหลือผู้อื่น ทำกิจกรรมบำเพ็ญประโยชน์ต่อสังคม มีจิตสาธารณะและ อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม รู้จักแบ่งบันทรัพย์สินหรือสิ่งของเพื่อผู้อื่น ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ต่อส่วนรวม กิจกรรมที่จัด เช่น กิจกรรมปลูกป่าชายเลนกิจกรรมการแข่งกีฬาจิตอาสาชุมชนเป็นต้น
การเรียนรู้ อยากลอง ความคะนองและการมีความสัมพันธ์กันในระหว่างวัยรุ่นเป็นเรื่องทางจิตวิทยาแต่ชีวิตทุกชีวิตนั้นมีการเจริญเติบโตไปสู่วัยรุ่นร่างกาย จะเจริญขึ้นมากจะมีการผลิตฮอร์โมนทางเพศให้เกิดความแตกต่างระหว่างชาย หญิงทางด้านสรีระที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางอารมณ์ความคิดความประพฤติ ตลอดถึงความพร้อมทางด้านสังคม สติปัญญาจากเดิมชอบอยู่ใกล้ชิดกับพ่อแม่ปู่ย่าตายาย ญาติมิตร เมื่อเป็นวัยรุ่น มีการคบหาสมาคมกันในวัยเดียวกัน ต่างวัยต่างเพศมีความคิดนิสัยรักสวยรักงามชอบในสิ่งเพ้อฝันมีความต้องการทางเพศชอบอยู่เป็นกลุ่ม กับเพื่อนฝูงครูบาอาจารย์มักจะดำเนินชีวิตที่เรียบง่าย ชอบสังสรรค์บางครั้งยังขาดความรู้สึกผิดชอบ ชั่วดีดังนั้นการดูแลวัยรุ่นจึงต้องอาศัยความเป็นผู้นำที่ดีและจับกลุ่มกันทำกิจกรรมให้มีส่วนร่วมสร้างสรรค์กิจกรรมที่ดี เพิ่มระเบียบและกฎเกณฑ์ที่สามารถจะมีกระบวนการทำงานร่วมกันการมีจิตอาสาการสร้างแรงจูงใจการมองคนในแง่ดีการยอมรับผู้อื่นการสร้างสัมพันธภาพกับองค์กรอื่นๆเช่นการแข่งกีฬาการร่วมพัฒนาศาสนสถานการท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์ เป็นต้นความรู้ทางเพศศึกษาเป็นทั้งในแง่บวก และแง่ลบแต่ความอายและความอยากรู้อยากลองก็เป็นที่น่ากลัวสำหรับกลุ่มวัยรุ่นที่มีจิตใจไขว้เขวจนบางครั้งก็อาจจะเดินทางผิดชอบมั่วสุมชอบเที่ยวกลางคืนถ้ามีสิ่งยั่วเย้าให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในทางลบอาจจะทดลองยา สารเสพติดสูบบุหรี่ดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ เป็นต้นเมื่อเดินทางผิดแล้วการจะแก้ตัวหรือปรับเปลี่ยนพฤติกรรมต้องใช้เวลา หรือทั้งชีวิตดังนั้นการเสริมทักษะชีวิตเป็นการสร้างความยับยั้งชั่งใจการเรียนรู้ในสิ่งที่จะเกิดขึ้นเมื่อเราเดินทางผิดหรือทำให้ผิดกฎกติกาทางสังคมหรือกฎหมาย หรือสูญเสียสติมัวเมาสิ่งเสพติดจนเป็นเหตุให้ชีวิตต้องผจญกับความลำบากตกถึงตัวเอง ครอบครัวสถาบันการศึกษาสังคม กฎหมายบ้านเมือง ความอยู่ดีมีสุขจะหายไปและเป็นความต้องการของทุกคนที่อยากเห็นสังคมวัยรุ่นเป็นวัยที่น่ารักและได้รับโอกาสดีๆมีที่ยืนในสังคมอย่างสง่าผ่าเผยเป็นตัวอย่างที่ดีกับเยาวชนกลุ่มอื่น หรือรุ่นน้องสร้างความภาคภูมิใจแก่ พ่อแม่ผู้ปกครองครูบาอาจารย์ ร่วมถึงสังคมยุกต์ 4.0 ด้วย ควรจะเอา โครงการเสริมทักษะชีวิตเยาวชนวัยรุ่น มาสร้างโอกาสดีๆให้กับลูกหลานต่อไป

หลักการเหตุผล จากการศึกษาข้อมูลของเยาวชนวัยรุ่น การสร้างแรงจูงใจในกลุ่มวัยรุ่นให้เกิดความพร้อมที่จะรับความเปลี่ยนแปลงของสภาพสมดุลกับการเจริญเติบโตทั้งร่างกาย จิตใจ สังคม สติปัญญา พร้อมที่จะเผชิญกับความเป็นไปในอนาคต จนกว่าจะมีภาวะเข้าสู่วัยผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพเป็นคนดีในสังคมและมีหลักประกันความเป็นคนที่สมบูรณ์ มีการควบคุมตัวเองได้ดี

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้สถานบริการสาธารณสุข และสถานศึกษาที่มีภาระหน้าที่สร้างคนให้มีความรู้ เรียนรู้ข้อมูลปัญหาวัยรุ่น และร่วมกันสร้างทักษะชีวิตเยาวชนไทย
  2. 2. เพื่อรวบรวมปัญหาเยาวชน ให้มีหลักเกณฑ์ในทางสร้างสรรค์ ให้มีอนาคตที่สดใส มีในการปรับตัวกับ ให้ทันเหตุการณ์ในอนาคต
  3. 3. เพื่อให้ผู้ผ่านการอบรมประพฤติดี และเป็นแบบอย่างที่ดีให้กับสถาบัน กลุ่มเยาวชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1. โครงการเสริมทักษะชีวิตเยาวชนวัยรุ่น เข้ารับการอบรม จำนวน 100 วัน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.สามารถเรียนรู้ จัดหาข้อมูลต่างๆที่เป็นความเสี่ยง 2.สามารถแปรความหมายของปัญหามาเป็นกฎแนวทางสู่การมีความเปลี่ยนแปลงที่พึงประสงค์3.สามารถลดลดปัญหา ทุกอย่างที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคต ทุกคนมีคุณภาพชีวิตที่ดี


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 1. โครงการเสริมทักษะชีวิตเยาวชนวัยรุ่น เข้ารับการอบรม จำนวน 100 คน

วันที่ 26 ธันวาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

  1. ฝึกอบรมความรู้แกนนำสุขภาพ นักเรียนมัธยมโรงเรียนท่าศิลาบำรุงราษฎร์ ตำบลนาทอน
  2. สร้างกลุ่มผู้นำเป็นแบบอย่างที่สามารถจะปฏิบัติตน มีกฎเกณฑ์ของเยาวชนที่ดีของสถาบันการศึกษา
  3. นำเสนอกระบวนการกลุ่ม 3 กลุ่ม
  4. ให้ทุกคนมีส่วนร่วมในการใช้สารเสพติดทุกชนิด โครงการทูบีนัมเบอร์วัน
  5. จัดนิทรรศการจำนวน 3 เรื่อง ในโรงเรียนท่าศิลาบำรุงราษฎร์ ตำบลนาทอน
    รายละเอียดงบประมาณ
    -ค่าอาหารว่าง จำนวน 104 คน จำนวน 2 มื้อๆละ 20 บาท เป็ฯเงิน 4160 บาท
    -ค่าอาหารกลาง จำนวน 104 คน จำนวน 1 มื้อๆละ 60 บาท เป็นเงิน 6240 บาท
    -ค่าวัสดุอุปกรณ์จัดอบรม เป็นเงิน 2200 บาท
    -ค่าวิทยากร จำนวน 4 คนๆละ 3 ชม.ๆละ 300 บาท เป็นเงิน 3600 บาท
    -ค่าป้ายไวนิลโครงการ จำนวน 4 ป้ายๆละ 500 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-

 

104 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้สถานบริการสาธารณสุข และสถานศึกษาที่มีภาระหน้าที่สร้างคนให้มีความรู้ เรียนรู้ข้อมูลปัญหาวัยรุ่น และร่วมกันสร้างทักษะชีวิตเยาวชนไทย
ตัวชี้วัด : 1.ให้ภาคีเครือข่ายให้ผนึกความร่วมมือ ศึกษาเหตุของปัญหา ร่วมกัน 2.การทำกิจกรรมโครงการเสริมทักษะชีวิตเยาวชนวัยรุ่น ในการทำงานร่วมกัน 3.การให้ความสำคัญของเยาวชนวัยรุ่น เพื่อลดความเสี่ยงตนเอง ครอบครัว สถาบัน สังคม เสริมสร้างสติปัญญา
60.00

 

2 2. เพื่อรวบรวมปัญหาเยาวชน ให้มีหลักเกณฑ์ในทางสร้างสรรค์ ให้มีอนาคตที่สดใส มีในการปรับตัวกับ ให้ทันเหตุการณ์ในอนาคต
ตัวชี้วัด : 1.การสร้างความตระหนักในการดำเนินชีวิต 2.การมีส่วนร่วมในการดูแลพฤติกรรมของเยาวชนวัยรุ่น 3.การค้นหาผู้มีมีความเสี่ยง ในการอยู่ในสถาบันช่วยกันดูแล แก้ไข ตักเตือนกันและกัน
60.00

 

3 3. เพื่อให้ผู้ผ่านการอบรมประพฤติดี และเป็นแบบอย่างที่ดีให้กับสถาบัน กลุ่มเยาวชน
ตัวชี้วัด : 1.ผู้มีภาวะผู้นำสร้างกลุ่มเยาวชนวัยรุ่นที่ดีมีคุณภาพ 2.กลุ่มเยาวชนวัยรุ่นตัวย่างของสถาบัน 3.เพื่อลดการสูญเสียเยาวชนวัยรุ่นมีพฤติกรรมไม่พึงประสงค์
60.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้สถานบริการสาธารณสุข และสถานศึกษาที่มีภาระหน้าที่สร้างคนให้มีความรู้  เรียนรู้ข้อมูลปัญหาวัยรุ่น  และร่วมกันสร้างทักษะชีวิตเยาวชนไทย (2) 2. เพื่อรวบรวมปัญหาเยาวชน ให้มีหลักเกณฑ์ในทางสร้างสรรค์ ให้มีอนาคตที่สดใส มีในการปรับตัวกับ ให้ทันเหตุการณ์ในอนาคต (3) 3. เพื่อให้ผู้ผ่านการอบรมประพฤติดี  และเป็นแบบอย่างที่ดีให้กับสถาบัน กลุ่มเยาวชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. โครงการเสริมทักษะชีวิตเยาวชนวัยรุ่น เข้ารับการอบรม จำนวน 100 วัน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเสริมทักษะชีวิตเยาวชนวัยรุ่น จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 61-L5294-1-11

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสุรัชดาสุวรรณรัตน์ พยาบาลวิชาชีพ รพ.สต.บ้านวังตง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด