กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลพะตง


“ โครงการรณรงค์การป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกและโรคไข้ปวดข้อยุงลาย ปีงบประมาณพ.ศ. 2561 ”

ตำบลพะตง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางดรุณี วิเชียร

ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์การป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกและโรคไข้ปวดข้อยุงลาย ปีงบประมาณพ.ศ. 2561

ที่อยู่ ตำบลพะตง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61 – L7890 -02-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรณรงค์การป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกและโรคไข้ปวดข้อยุงลาย ปีงบประมาณพ.ศ. 2561 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลพะตง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลพะตง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์การป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกและโรคไข้ปวดข้อยุงลาย ปีงบประมาณพ.ศ. 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการรณรงค์การป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกและโรคไข้ปวดข้อยุงลาย ปีงบประมาณพ.ศ. 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลพะตง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61 – L7890 -02-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 105,563.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลพะตง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไข้เลือดออกเป็นโรคประจำถิ่นของประเทศไทยที่พบว่ามีการเกิดโรคเกิดขึ้นเป็นประจำทุกปีและพบโรคไข้ปวดข้อยุงลาย(โรคชิคุนกุนยา) เป็นบางปีกระจายไปทั่วทุกพื้นที่และมีแนวโน้มการเกิดโรคกับประชาชนทุกกลุ่มอายุหากมีการตรวจวินิจฉัยขั้นต้นไม่ถูกต้องแล้ว อาจนำให้ผู้ป่วยเข้าสู่ภาวะช็อกและอาจเสียชีวิตได้ซึ่งนับได้ว่าเป็นปัญหาทางด้านสาธารณสุขที่สำคัญเป็นอย่างยิ่งจากสถานการณ์การเกิดโรคไข้เลือดออกข้อมูลระบาดวิทยาตำบล พะตงตั้งแต่ปีพ.ศ.๒๕๕9 –๒๕60 (1 มกราคม 2560 – 30 กันยายน 2560) พบว่าผู้ป่วยไข้เลือดออก40 และ44รายตามลำดับ ไม่พบผู้ป่วยเสียชีวิตซึ่งอัตราป่วยดังกล่าวนี้เกินเกณฑ์ที่กำหนดไว้(เกณฑ์ไม่เกิน๕๐ต่อแสนประชากร) จากการศึกษาข้อมูลพบว่าอัตราการเกิดโรคครอบคลุมทุกพื้นที่ในเขตรับผิดชอบของเทศบาลตำบลพะตง กลุ่มประชากรที่เกิดโรคมากที่สุด คือกลุ่มอายุ๑๐-๑๔ปีซึ่งเป็นกลุ่มนักเรียนช่วงเวลาของการเกิดโรคสูงสุดในเดือนกรกฎาคมถึงเดือนพฤศจิกายนนอกจากนี้ยังมีรายงานการเกิดโรคเกิดขึ้นทุก ๆเดือนและเมื่อมาวิเคราะห์สถานการณ์การเกิดโรคแล้วมักเกิดจากสภาวะแวดล้อมของชุมชนที่เป็นปัจจัยเอื้อต่อการเกิดโรคเช่นมีน้ำขังตามแอ่งและภาชนะต่างๆที่ใช้และไม่ใช้ในครัวเรือนโรงเรียนวัดและสถานที่ต่าง ๆ ซึ่งถือเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายยุงลายสามารถวางไข่เติบโตเป็นตัวแก่อาศัยอยู่ตามบ้านเรือนหากยุงลายตัวใดมีเชื้อไข้เลือดออกกัดบุคคลในครัวเรือนเข้าก็ปล่อยเชื้อและเกิดเป็นไข้เลือดออกในเวลาต่อมาวงจรชีวิตนี้จะวนเวียนตลอดไปดังนั้นงานป้องกันและควบคุมโรคติดต่อและจากการดำเนินการเดินสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ของลูกน้ำยุงลายทุกชุมชนเป็นประจำทุกเดือนตั้งแต่เดือนพฤษภาคม – กันยายน2561พบว่าค่าดัชนีความชุกของลูกน้ำยุงลายเกินเกณฑ์มาตรฐานแม้ว่าจะมีการรณรงค์อย่างต่อเนื่องและอยู่ในอำนาจหน้าที่กฎหมายจัดตั้งของเทศบาลตามมาตรา 50 (4) ป้องกันและระงับโรคติดต่อดังนั้นกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมได้จัดทำโครงการ“โครงการรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกและโรคไข้ปวดข้อยุงลายปีงบประมาณพ.ศ. 2561”เพื่อเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกและโรคไข้ปวดข้อยุงลายโดยอาศัยวิธีการทั้งทางด้านกายภาพชีวภาพและเคมีอย่างต่อเนื่องเพื่อให้ประชาชนปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อรณรงค์การป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดและโรคไข้ปวดข้อยุงลาย (โรคชิคุนกุนยา) ในเขตพื้นที่รับผิดชอบของเทศบาลตำบลพะตง ซึ่งจะเป็นการลดความสูญเสียต่อชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนที่เจ็บป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกและโรคชิคุนกุนยา
  2. เพื่อส่งเสริมให้โรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก วัด และชุมชน จัดกิจกรรมการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย
  3. เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับการอบรมป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกและโรคไข้ปวดข้อยุงลายให้แก่ประชาชนทุกกลุ่มวัย โดยเฉพาะในกลุ่มนักเรียนซึ่งเป็นกลุ่มที่อัตราการเจ็บป่วยสูงสุด สามารถดูแลตนเองและบุคคลในครอบครัวที่เจ็บป่วยได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อสม.ทั้ง 9 ชุมชน เดินสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ของลูกน้ำยุงลายเป็นประจำทุกเดือน กรกฎาคม – กันยายน 2561 ( 3 เดือน)
  2. เดินรณรงค์สร้างความตระหนักเรื่องโรคไข้เลือดออก
  3. อบรมให้ความรู้นักเรียน
  4. พ่นหมอกควันและพ่นสารเคมีละอองฝอยละเอียดชนิดติดรถยนต์
  5. จัดอบรมให้ความรู้อสม.เรื่องไข้เลือดออกและสถานการณ์ของโรค
  6. จัดทำรายงานผลการดำเนินงานให้ผู้บริหารเทศบาลและคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพทราบ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 500
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 7,000
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.โรงเรียนศูนย์พัฒนาเด็กเล็กวัดและประชาชนในชุมชนมีความตระหนักถึงอันตรายของโรคไข้เลือดออกและโรคไข้ปวดข้อยุงลายและร่วมดำเนินกิจกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ
๒. อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกและโรคไข้ปวดข้อยุงลายในเขตเทศบาลตำบลพะตงลดลง ๓. ลดความสูญเสียทั้งชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนในเขตเทศบาลอันเนื่องมาจากการเจ็บป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกและโรคไข้ปวดข้อยุงลาย


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อรณรงค์การป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดและโรคไข้ปวดข้อยุงลาย (โรคชิคุนกุนยา) ในเขตพื้นที่รับผิดชอบของเทศบาลตำบลพะตง ซึ่งจะเป็นการลดความสูญเสียต่อชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนที่เจ็บป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกและโรคชิคุนกุนยา
ตัวชี้วัด : อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกและโรคไข้ปวดข้อยุงลายลดลง
0.00 0.00

 

2 เพื่อส่งเสริมให้โรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก วัด และชุมชน จัดกิจกรรมการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย
ตัวชี้วัด : โรงเรียน วัด ค่า CI = 0 ชุมชน ค่า HI < 10
0.00 0.00

 

3 เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับการอบรมป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกและโรคไข้ปวดข้อยุงลายให้แก่ประชาชนทุกกลุ่มวัย โดยเฉพาะในกลุ่มนักเรียนซึ่งเป็นกลุ่มที่อัตราการเจ็บป่วยสูงสุด สามารถดูแลตนเองและบุคคลในครอบครัวที่เจ็บป่วยได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
ตัวชี้วัด : นักเรียน ประชาชนมีความรู้เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกและร่วมกันป้องกันการระบาดของโรคไข้เลือดออก
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 7500
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 500
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 7,000
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อรณรงค์การป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดและโรคไข้ปวดข้อยุงลาย (โรคชิคุนกุนยา) ในเขตพื้นที่รับผิดชอบของเทศบาลตำบลพะตง ซึ่งจะเป็นการลดความสูญเสียต่อชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนที่เจ็บป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกและโรคชิคุนกุนยา (2) เพื่อส่งเสริมให้โรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก วัด และชุมชน จัดกิจกรรมการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย (3) เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับการอบรมป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกและโรคไข้ปวดข้อยุงลายให้แก่ประชาชนทุกกลุ่มวัย โดยเฉพาะในกลุ่มนักเรียนซึ่งเป็นกลุ่มที่อัตราการเจ็บป่วยสูงสุด สามารถดูแลตนเองและบุคคลในครอบครัวที่เจ็บป่วยได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อสม.ทั้ง 9 ชุมชน เดินสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ของลูกน้ำยุงลายเป็นประจำทุกเดือน กรกฎาคม – กันยายน  2561 ( 3 เดือน) (2) เดินรณรงค์สร้างความตระหนักเรื่องโรคไข้เลือดออก (3) อบรมให้ความรู้นักเรียน (4) พ่นหมอกควันและพ่นสารเคมีละอองฝอยละเอียดชนิดติดรถยนต์  (5) จัดอบรมให้ความรู้อสม.เรื่องไข้เลือดออกและสถานการณ์ของโรค (6) จัดทำรายงานผลการดำเนินงานให้ผู้บริหารเทศบาลและคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพทราบ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการรณรงค์การป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกและโรคไข้ปวดข้อยุงลาย ปีงบประมาณพ.ศ. 2561 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61 – L7890 -02-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางดรุณี วิเชียร )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด