บริการสุขภาพ ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยเรื้อรัง และผู้พิการที่บ้าน
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ บริการสุขภาพ ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยเรื้อรัง และผู้พิการที่บ้าน ”
ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่
ชื่อโครงการ บริการสุขภาพ ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยเรื้อรัง และผู้พิการที่บ้าน
ที่อยู่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 61-L7258-1-21 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ ถึง
กิตติกรรมประกาศ
"บริการสุขภาพ ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยเรื้อรัง และผู้พิการที่บ้าน จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
บริการสุขภาพ ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยเรื้อรัง และผู้พิการที่บ้าน
บทคัดย่อ
โครงการ " บริการสุขภาพ ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยเรื้อรัง และผู้พิการที่บ้าน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61-L7258-1-21 ระยะเวลาการดำเนินงาน ยังไม่ระบุ - (ยังไม่ระบุ) ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 814,986.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
แผนยุทธศาสตร์กระทรวงมหาดไทย พ.ศ. 2560-2564 ได้กำหนดให้กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น มีการส่งเสริมและสนับสนุนการดำเนินงานขององค์กรปกรองส่วนท้องถิ่นให้เป็นไปตามหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ส่งเสริมและสนับสนุนกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนและภาคีการพัฒนาในการบริหารจัดการองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยมีวิสัยทัศน์รากฐานการดำรงชีวิตคือ ดูแลประชาชนทุกช่วงชีวิตตั้งแต่เกิดจนตาย ลดความยากจน และเข้าถึงบริการภาครัฐ ซึ่งสอดคล้องกับแผน แผนยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี (ด้านสาธารณสุข) (ตุลาคม 2559 ถึง พ.ศ. 2579) คือ พัฒนาคุณภาพชีวิตคนไทยทุกกลุ่มวัย
ผู้บริหารเทศบาลนครหาดใหญ่ มีนโยบายการพัฒนาสุขภาพของประชาชนโดยการพัฒนาคุณภาพการให้บริการสุขภาพทั้งระบบอย่างมีบูรณาการเชื่อมโยงในทุกระดับ จัดให้มีมาตรการสร้างสุขภาพโดยมีเป้าหมายเพื่อลดอัตราป่วย ตาย และผลกระทบจากโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง อย่างมีบูรณาการและครบวงจร พัฒนาขีดความสามารถของอาสาสมัครสาธารณสุขทุกคนให้เป็นนักจัดการสุขภาพชุมชนขยายความครอบคลุมไปถึงกลุ่มผู้ด้อยโอกาส สนับสนุนอุปกรณ์พื้นฐานที่จำเป็นเพื่อให้สามารถเป็นกำลังสำคัญในการดูแลสุขภาพของคนในชุมชน พัฒนาแกนนำสุขภาพครอบครัวและการสาธารณสุขมูลฐานที่ชุมชนท้องถิ่นมีส่วนร่วมในการสร้างเสริมสุขภาพ และจัดการปัญหาสุขภาพของตนเองได้อย่างเข้มแข็งและยั่งยืน และพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน
รวมทั้งมีนโยบายความมั่นคงของชีวิตและสังคม โดยส่งเสริมเสริมสร้างให้ผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาสมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
โดยมีวิสัยทัศน์ "มหานครแห่งความสุข" (City of Happiness) มีพันธกิจหรือภารกิจหลัก (Mission)
ภารกิจหลักที่ 6 เสริมสร้างสุขภาพและสวัสดิการของประชาชนและภารกิจหลักที่ 8 ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนในการร่วมกันพัฒนานครหาดใหญ่ ส่วนหนึ่งมีจุดมุ่งหมายเพื่อการพัฒนาด้านสาธารณสุขและพัฒนาชุมชนให้เข้มแข็ง ซึ่งได้นำมากำหนดเป็นยุทธศาสตร์พ.ศ. 2557-2562 ด้านการพัฒนาสังคม ซึ่งสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ของกระทรวงมหาดไทยและแผนยุทธศาสตร์ระยะ 20 ปี (ด้านสาธารณสุข)
จากสภาวะสุขภาพของประชาชนในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ในจำนวน 103 ชุมชน พบว่ามีผู้ป่วยที่มีปัญหาโรคเรื้อรังจำนวนมาก และผู้ป่วยส่วนหนึ่งยังเข้าไม่ถึงบริการของรัฐ เนื่องจากปัญหาความด้อยโอกาสในการเข้าถึงบริการสุขภาพ ทำให้เสียโอกาสในการดูแลสุขภาพ จึงเกิดภาวะทุพพลภาพเพิ่มมากขึ้นกว่าที่ควรจะเป็น
ผู้บริหารเทศบาลนครหาดใหญ่ได้ให้ความสำคัญถึงปัญหาดังกล่าวจึงมีนโยบาย ส่งเสริมการดูแลสุขภาพประชาชนเชิงรุก กล่าวคือ "สุขภาพดี เริ่มที่บ้าน" โดยภารกิจหน้าที่ เน้นการบริการองค์รวมแบบเชิงรุกในชุมชน เพื่อให้ประชาชนได้เข้าถึงบริการได้เท่าเทียมกัน และสามารถดูแลประชาชนในด้านการพัฒนาสุขภาพได้ทุกช่วงชีวิตตั้งแต่เกิดจนตาย ซึ่งให้การบริการองค์รวมด้วยกระบวนการทำงานเป็นทีม ให้ข้อมูล ให้การสนับสนุน จัดการเรียนรู้แก่บุคคลชุมชน เป็นหุ้นส่วนสุขภาพกับประชาชน ร่วมคิดร่วมทำ เสนอทางเลือก เสริมพลังอำนาจ ด้วยความเชื่อมั่นในศักยภาพของประชาชนอย่างจริงจัง จริงใจและมีมิตรภาพ เพื่อให้บุคคลเข้าใจ เชื่อมั่น ร่วมคิด ร่วมสร้าง และร่วมทำอย่างเข้าถึงและรู้เท่าทันสุขภาพ เกิดความตระหนัก สามารถดูแลสุขภาพ ทั้งยังสามารถจัดการสิ่งแวดล้อมที่มีผลกระทบต่อสุขภาพของตนเอง ครอบครัวและปฏิบัติได้อย่างถูกต้องอีกด้วย
สำนักการสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม โดยศูนย์บริการสาธารณสุข เทศบาลนครหาดใหญ่ จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้เกิดระบบการดูแลกลุ่มเป้าหมายที่บ้าน ช่วยให้ผู้ป่วยได้รับการดูแลทั่วถึงครอบคลุม
- เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายและผู้ดูแลมีความรู้และมีศักยภาพในการดูแลสุขภาพตนเองและครอบครัวที่บ้าน และป้องกันการเกิดคนพิการรายใหม่ในชุมชนในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่ควรจะป้องกันได้
- เพื่อสนับสนุนและช่วยเหลือการจัดการสุขภาพที่บ้านของกลุ่มเป้าหมายและผู้ดูแล
- เพื่อเพิ่มคุณภาพชีวิตที่ดีของผู้สูงอายุ ผู้ป่วยเรื้อรัง ผู้พิการ และครอบครัวกลุ่มเป้าหมาย
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้เกิดระบบการดูแลกลุ่มเป้าหมายที่บ้าน ช่วยให้ผู้ป่วยได้รับการดูแลทั่วถึงครอบคลุม
ตัวชี้วัด : 1. อัตราความครอบคลุมการเยี่ยมผู้ป่วยที่บ้านกลุ่มเป้าหมายที่ทำโครงการร้อยละ100
2. อัตราป่วยส่งกลับจาก รพ.ศูนย์ ได้รับการเยี่ยมบ้านภายใน 14 วัน ร้อยละ 100
0.00
2
เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายและผู้ดูแลมีความรู้และมีศักยภาพในการดูแลสุขภาพตนเองและครอบครัวที่บ้าน และป้องกันการเกิดคนพิการรายใหม่ในชุมชนในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่ควรจะป้องกันได้
ตัวชี้วัด : 1. ผู้ป่วยได้รับการเยี่ยมบ้านสามารถควบคุมภาวะโรค/ดูแลตนเองได้ร้อยละ 80
2. ผู้ดูแลผู้ป่วยมีความรู้มากขึ้นจากการทำใบประเมินความรู้ (Pre-Post test) มีคะแนนสูงขึ้น และประเมินผลการปฏิบัติงานจริงจากรายงานการบันทึกได้ถูกต้อง
0.00
3
เพื่อสนับสนุนและช่วยเหลือการจัดการสุขภาพที่บ้านของกลุ่มเป้าหมายและผู้ดูแล
ตัวชี้วัด : ความพึงพอใจของผู้รับบริการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
0.00
4
เพื่อเพิ่มคุณภาพชีวิตที่ดีของผู้สูงอายุ ผู้ป่วยเรื้อรัง ผู้พิการ และครอบครัวกลุ่มเป้าหมาย
ตัวชี้วัด : 1. อัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อนที่บ้านไม่เกินร้อยละ 5
2. ครอบครัวกลุ่มเป้าหมายได้รบการดูแลสุขภาพแบบองค์รวมและได้รับบริการด้านอื่น ๆ ที่เหมาะสมและสอดคล้องกับปัญหา
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เกิดระบบการดูแลกลุ่มเป้าหมายที่บ้าน ช่วยให้ผู้ป่วยได้รับการดูแลทั่วถึงครอบคลุม (2) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายและผู้ดูแลมีความรู้และมีศักยภาพในการดูแลสุขภาพตนเองและครอบครัวที่บ้าน และป้องกันการเกิดคนพิการรายใหม่ในชุมชนในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่ควรจะป้องกันได้ (3) เพื่อสนับสนุนและช่วยเหลือการจัดการสุขภาพที่บ้านของกลุ่มเป้าหมายและผู้ดูแล (4) เพื่อเพิ่มคุณภาพชีวิตที่ดีของผู้สูงอายุ ผู้ป่วยเรื้อรัง ผู้พิการ และครอบครัวกลุ่มเป้าหมาย
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
บริการสุขภาพ ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยเรื้อรัง และผู้พิการที่บ้าน จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 61-L7258-1-21
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ บริการสุขภาพ ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยเรื้อรัง และผู้พิการที่บ้าน ”
ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
ที่อยู่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 61-L7258-1-21 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ ถึง
กิตติกรรมประกาศ
"บริการสุขภาพ ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยเรื้อรัง และผู้พิการที่บ้าน จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
บริการสุขภาพ ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยเรื้อรัง และผู้พิการที่บ้าน
บทคัดย่อ
โครงการ " บริการสุขภาพ ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยเรื้อรัง และผู้พิการที่บ้าน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61-L7258-1-21 ระยะเวลาการดำเนินงาน ยังไม่ระบุ - (ยังไม่ระบุ) ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 814,986.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
แผนยุทธศาสตร์กระทรวงมหาดไทย พ.ศ. 2560-2564 ได้กำหนดให้กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น มีการส่งเสริมและสนับสนุนการดำเนินงานขององค์กรปกรองส่วนท้องถิ่นให้เป็นไปตามหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ส่งเสริมและสนับสนุนกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนและภาคีการพัฒนาในการบริหารจัดการองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยมีวิสัยทัศน์รากฐานการดำรงชีวิตคือ ดูแลประชาชนทุกช่วงชีวิตตั้งแต่เกิดจนตาย ลดความยากจน และเข้าถึงบริการภาครัฐ ซึ่งสอดคล้องกับแผน แผนยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี (ด้านสาธารณสุข) (ตุลาคม 2559 ถึง พ.ศ. 2579) คือ พัฒนาคุณภาพชีวิตคนไทยทุกกลุ่มวัย ผู้บริหารเทศบาลนครหาดใหญ่ มีนโยบายการพัฒนาสุขภาพของประชาชนโดยการพัฒนาคุณภาพการให้บริการสุขภาพทั้งระบบอย่างมีบูรณาการเชื่อมโยงในทุกระดับ จัดให้มีมาตรการสร้างสุขภาพโดยมีเป้าหมายเพื่อลดอัตราป่วย ตาย และผลกระทบจากโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง อย่างมีบูรณาการและครบวงจร พัฒนาขีดความสามารถของอาสาสมัครสาธารณสุขทุกคนให้เป็นนักจัดการสุขภาพชุมชนขยายความครอบคลุมไปถึงกลุ่มผู้ด้อยโอกาส สนับสนุนอุปกรณ์พื้นฐานที่จำเป็นเพื่อให้สามารถเป็นกำลังสำคัญในการดูแลสุขภาพของคนในชุมชน พัฒนาแกนนำสุขภาพครอบครัวและการสาธารณสุขมูลฐานที่ชุมชนท้องถิ่นมีส่วนร่วมในการสร้างเสริมสุขภาพ และจัดการปัญหาสุขภาพของตนเองได้อย่างเข้มแข็งและยั่งยืน และพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน รวมทั้งมีนโยบายความมั่นคงของชีวิตและสังคม โดยส่งเสริมเสริมสร้างให้ผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาสมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น โดยมีวิสัยทัศน์ "มหานครแห่งความสุข" (City of Happiness) มีพันธกิจหรือภารกิจหลัก (Mission) ภารกิจหลักที่ 6 เสริมสร้างสุขภาพและสวัสดิการของประชาชนและภารกิจหลักที่ 8 ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนในการร่วมกันพัฒนานครหาดใหญ่ ส่วนหนึ่งมีจุดมุ่งหมายเพื่อการพัฒนาด้านสาธารณสุขและพัฒนาชุมชนให้เข้มแข็ง ซึ่งได้นำมากำหนดเป็นยุทธศาสตร์พ.ศ. 2557-2562 ด้านการพัฒนาสังคม ซึ่งสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ของกระทรวงมหาดไทยและแผนยุทธศาสตร์ระยะ 20 ปี (ด้านสาธารณสุข) จากสภาวะสุขภาพของประชาชนในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ในจำนวน 103 ชุมชน พบว่ามีผู้ป่วยที่มีปัญหาโรคเรื้อรังจำนวนมาก และผู้ป่วยส่วนหนึ่งยังเข้าไม่ถึงบริการของรัฐ เนื่องจากปัญหาความด้อยโอกาสในการเข้าถึงบริการสุขภาพ ทำให้เสียโอกาสในการดูแลสุขภาพ จึงเกิดภาวะทุพพลภาพเพิ่มมากขึ้นกว่าที่ควรจะเป็น ผู้บริหารเทศบาลนครหาดใหญ่ได้ให้ความสำคัญถึงปัญหาดังกล่าวจึงมีนโยบาย ส่งเสริมการดูแลสุขภาพประชาชนเชิงรุก กล่าวคือ "สุขภาพดี เริ่มที่บ้าน" โดยภารกิจหน้าที่ เน้นการบริการองค์รวมแบบเชิงรุกในชุมชน เพื่อให้ประชาชนได้เข้าถึงบริการได้เท่าเทียมกัน และสามารถดูแลประชาชนในด้านการพัฒนาสุขภาพได้ทุกช่วงชีวิตตั้งแต่เกิดจนตาย ซึ่งให้การบริการองค์รวมด้วยกระบวนการทำงานเป็นทีม ให้ข้อมูล ให้การสนับสนุน จัดการเรียนรู้แก่บุคคลชุมชน เป็นหุ้นส่วนสุขภาพกับประชาชน ร่วมคิดร่วมทำ เสนอทางเลือก เสริมพลังอำนาจ ด้วยความเชื่อมั่นในศักยภาพของประชาชนอย่างจริงจัง จริงใจและมีมิตรภาพ เพื่อให้บุคคลเข้าใจ เชื่อมั่น ร่วมคิด ร่วมสร้าง และร่วมทำอย่างเข้าถึงและรู้เท่าทันสุขภาพ เกิดความตระหนัก สามารถดูแลสุขภาพ ทั้งยังสามารถจัดการสิ่งแวดล้อมที่มีผลกระทบต่อสุขภาพของตนเอง ครอบครัวและปฏิบัติได้อย่างถูกต้องอีกด้วย สำนักการสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม โดยศูนย์บริการสาธารณสุข เทศบาลนครหาดใหญ่ จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้เกิดระบบการดูแลกลุ่มเป้าหมายที่บ้าน ช่วยให้ผู้ป่วยได้รับการดูแลทั่วถึงครอบคลุม
- เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายและผู้ดูแลมีความรู้และมีศักยภาพในการดูแลสุขภาพตนเองและครอบครัวที่บ้าน และป้องกันการเกิดคนพิการรายใหม่ในชุมชนในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่ควรจะป้องกันได้
- เพื่อสนับสนุนและช่วยเหลือการจัดการสุขภาพที่บ้านของกลุ่มเป้าหมายและผู้ดูแล
- เพื่อเพิ่มคุณภาพชีวิตที่ดีของผู้สูงอายุ ผู้ป่วยเรื้อรัง ผู้พิการ และครอบครัวกลุ่มเป้าหมาย
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้เกิดระบบการดูแลกลุ่มเป้าหมายที่บ้าน ช่วยให้ผู้ป่วยได้รับการดูแลทั่วถึงครอบคลุม ตัวชี้วัด : 1. อัตราความครอบคลุมการเยี่ยมผู้ป่วยที่บ้านกลุ่มเป้าหมายที่ทำโครงการร้อยละ100 2. อัตราป่วยส่งกลับจาก รพ.ศูนย์ ได้รับการเยี่ยมบ้านภายใน 14 วัน ร้อยละ 100 |
0.00 |
|
||
2 | เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายและผู้ดูแลมีความรู้และมีศักยภาพในการดูแลสุขภาพตนเองและครอบครัวที่บ้าน และป้องกันการเกิดคนพิการรายใหม่ในชุมชนในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่ควรจะป้องกันได้ ตัวชี้วัด : 1. ผู้ป่วยได้รับการเยี่ยมบ้านสามารถควบคุมภาวะโรค/ดูแลตนเองได้ร้อยละ 80 2. ผู้ดูแลผู้ป่วยมีความรู้มากขึ้นจากการทำใบประเมินความรู้ (Pre-Post test) มีคะแนนสูงขึ้น และประเมินผลการปฏิบัติงานจริงจากรายงานการบันทึกได้ถูกต้อง |
0.00 |
|
||
3 | เพื่อสนับสนุนและช่วยเหลือการจัดการสุขภาพที่บ้านของกลุ่มเป้าหมายและผู้ดูแล ตัวชี้วัด : ความพึงพอใจของผู้รับบริการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 |
0.00 |
|
||
4 | เพื่อเพิ่มคุณภาพชีวิตที่ดีของผู้สูงอายุ ผู้ป่วยเรื้อรัง ผู้พิการ และครอบครัวกลุ่มเป้าหมาย ตัวชี้วัด : 1. อัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อนที่บ้านไม่เกินร้อยละ 5 2. ครอบครัวกลุ่มเป้าหมายได้รบการดูแลสุขภาพแบบองค์รวมและได้รับบริการด้านอื่น ๆ ที่เหมาะสมและสอดคล้องกับปัญหา |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เกิดระบบการดูแลกลุ่มเป้าหมายที่บ้าน ช่วยให้ผู้ป่วยได้รับการดูแลทั่วถึงครอบคลุม (2) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายและผู้ดูแลมีความรู้และมีศักยภาพในการดูแลสุขภาพตนเองและครอบครัวที่บ้าน และป้องกันการเกิดคนพิการรายใหม่ในชุมชนในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่ควรจะป้องกันได้ (3) เพื่อสนับสนุนและช่วยเหลือการจัดการสุขภาพที่บ้านของกลุ่มเป้าหมายและผู้ดูแล (4) เพื่อเพิ่มคุณภาพชีวิตที่ดีของผู้สูงอายุ ผู้ป่วยเรื้อรัง ผู้พิการ และครอบครัวกลุ่มเป้าหมาย
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
บริการสุขภาพ ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยเรื้อรัง และผู้พิการที่บ้าน จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 61-L7258-1-21
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......