กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบางเหรียง


“ โครงการเกษตรปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย สมุนไพรล้างพิษ กายจิตผ่องใส ”

ตำบลบางเหรียง อำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางปิยาเรืองหนู

ชื่อโครงการ โครงการเกษตรปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย สมุนไพรล้างพิษ กายจิตผ่องใส

ที่อยู่ ตำบลบางเหรียง อำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-L5171-2-03 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 9 กรกฎาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเกษตรปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย สมุนไพรล้างพิษ กายจิตผ่องใส จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบางเหรียง อำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบางเหรียง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเกษตรปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย สมุนไพรล้างพิษ กายจิตผ่องใส



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเกษตรปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย สมุนไพรล้างพิษ กายจิตผ่องใส " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบางเหรียง อำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61-L5171-2-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 9 กรกฎาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 5,500.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบางเหรียง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันสารเคมีป้องกันกำจัดศัตรูพืช (Pesticides) เข้ามามีบทบาทและใช้ในการเกษตรอย่างกว้างขวาง และส่งผลกระทบต่อสุขภาพ สิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจและสังคมอย่างต่อเนื่อง สิ่งที่จะสะท้อนให้เห็นสถานการณ์อย่างชัดเจน คือ ข้อมูลปริมารการนำเข้าสารเคมีป้องกันกำจัดศัตรูพืชที่มีแนวโน้มสูงขึ้นทุกปี จากข้อมูของกรมวิชาการเกาตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ พบว่า ระหว่างปี พ.ศ. 2540-2553 มีการนำเข้าสารเคมีป้องกันกำจัดศัตรูพืชมากถึง 120,000 ตัน โดยสารเคมีกำจัดศัตรูพืชที่มีการใช้มากที่สุด ได้แก่ สารกำจัดศัตรูวัชพืช ร้อยละ 74 สารกำจัดแมลง ร้อยละ 14 สารกำจัดโรคพืช ร้อยละ 9 และอื่นๆ ร้อยละ 3 แนวโน้มการนำสารเคมีป้องกันกำจัดศัตรูพชมาใช้ยังคมมีมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง ถึงแม้ว่าสารเคมีดังกล่าวจะมีหลักฐานและข้อมูลทางวิชาการแสดงถึงความเป็นพิษต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อมอย่างชัดเจน และทุกคนมีโอกาสเสี่ยงต่อการได้รับสารพิษทั้งทางตรงและทางอ้อม โดยเฉพาะกลุ่มเกษตรกรที่ใช้สารเคมีโดยตรง หรือกลุ่มผู้บริโภคพืชผักที่มีสารเคมีป้องกันกำจัดศัตรูพืชตกค้างในพืชผัก เพื่อคุ้มครองสุขภาพทั้งเกษตรกรและผู้บริโภค เป็นบทบาทที่ทุกคนต้องมีส่วนร่วมในการลดปริมารการใช้ และการเฝ้าระวังการได้รับพิษจากสารเคมีป้องกันกำจัดศัตรูพืช เป็นสิ่งสำคัญที่ควรดำเนินการอย่างต่อเนื่องและเป็นประโยชน์ในกานำข้อมูลไปให้ความรู้แก่กลุ่มเสี่ยงและประชาชนทั่วไป จากการเฝ้าระวังโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม โดยสำนักระบาดวิทยา พบว่า พ.ศ. 2546-2555 มีรายงานผู้ป่วยได้รับสารพิษจากสารเคมีป้องกันกำจัดศัตรูพืช ทั้งสิ้น 17,340 ราย มีรายงานเฉลี่ยปีละ 1,734 ราย อัตราป่วย 2.35 ต่อประชากรแสนคน ซึ่งนอกจากจะพบรายงานมากในกลุุ่มเกษตรกรแล้วยังพบการรายงานการได้รับพิษในเด็กเล็ก ซึ่งอาจมีสามเหตุจากการใช้อย่างไม่ระมัดระวัง เช่น การเก็บในที่ไม่ปลอดภัย การทิ้งภาชนะบรรจะไม่ถูกวิธี หรือการนำกลับมาใช้ใหม่ เป็นต้น ในปีงบยประมาณ 2559 มีเกษตรกรได้รับการตรวจคัดกรองความเสี่ยงด้วยกระดาษ Reactive paper จำนวนทั้งสิ้น 418,672 คน พบผู้ที่ผลเลือดมีความเสี่ยงและไม่ปลอดภัย จำนวน 153,905 คน คิดเป็นร้อยละ 36.76
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางเหรียง มีการดำเนินงานดูแลสุขภาพเกษตรกรมาอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้เกษตรกรมีความตระหนักถึงโอกาสเสี่ยงในการได้รับอันตรายจากสารเคมีกำจัดศัตรูพืชและการป้องกันตนเอง จากการดำเนินงานในรอบปีที่ผ่านมา ซึ่งได้มีการตรวจคัดกรองความเสี่ยงเกษตรกรโดยการเจาะเลือดหาระดับแอนไซม์โคลีนเอสเตอเรส จำนวน 103 คน ผลเลือดมีความเสี่ยงและไม่ปลอดภัย จำนวน 68 คน คิดเป็นร้อยละ 66.02และได้เจาะเลือดซ้ำในครั้งที่ 2 หลังจากให้ความรู้และแนะนำการใช้สมุนไพรล้างพิษเป้นเวลาอย่างน้อย 2 สัปดาห์ ผลปรากฎว่า ผลเลือดมีความเสี่ยงและไม่ปลอดภัยลดลงจาก 68 คน เหลิือเพียง 34 คน เมื่อสิ้นสุดโครงการ ผลการเจาะเลือดหาระดับเอ็นไซม์โคลีนเอสเตอเรสของเกษตรกรอยู่ในระดับปกติและปลอดภัย เท่ากับร้อยละ 66.99 และผลไม่ปลอดภัยและมีความเสี่ยง เท่ากับร้อยละ 33.01 ซึ่งได้ผลที่ดีขึ้น จึงควรมีการเฝ้าระวัง และดำเนินงานให้เกษตรกรไดู้แลสุขภาพตนเองร่วมกับบุคลากรสาธารณสุขต่อไป ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางเหรียง จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่ 1 เพื่อให้เกษตรกรในพื้นที่รับผิดชอบได้รับการตรวจคัดกรองสุขภาพ และประเมินความเสี่ยงจากการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช มีความรู้เรื่องสมุนไพรล้างพิษและการใช้สารกำจัดศัตรูพืชอย่างปลอดภัย ข้อที่ 2 เพื่อให้เครือข่ายอาสาสมัครสาธารณสุขมีความรู้ด้านชีวอนามัยและสามารถแนะนำเกษตรกรได้ ข้อที่ 3 เพื่อให้มีการจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ให้กับกลุ่มเกษตรกรในชุมชนโดยเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้
  2. ตรวจคัดกรองสุขภาพเกษตรกร ประเมินความเสี่ยงจาการใช้สารเคมี
  3. จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 220
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เกษตรกรในพื้นที่รับผิดชอบได้รับการตรวจคัดกรองสุขภาพ และประเมินความเสี่ยงจากากรใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช 2.เกษตรกรมีความรู้เรื่องการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชอย่างปลอดภัยและสมุนไพรล้างพิษ 3.เครือข่ายอาสาสมัครสาธารณสุข สามารถดูแลสุขภาพเกษตรกรได้


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ 1 เพื่อให้เกษตรกรในพื้นที่รับผิดชอบได้รับการตรวจคัดกรองสุขภาพ และประเมินความเสี่ยงจากการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช มีความรู้เรื่องสมุนไพรล้างพิษและการใช้สารกำจัดศัตรูพืชอย่างปลอดภัย ข้อที่ 2 เพื่อให้เครือข่ายอาสาสมัครสาธารณสุขมีความรู้ด้านชีวอนามัยและสามารถแนะนำเกษตรกรได้ ข้อที่ 3 เพื่อให้มีการจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ให้กับกลุ่มเกษตรกรในชุมชนโดยเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง
ตัวชี้วัด : 1. เกษตรกรในพื้นที่รับผิดชอบได้รับการตรวจคัดกรองสุขภาพประเมินความเสี่ยงจากการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช มีความรู้เรื่องสมุนไพรล้างพิษ การใช้สารกำจัดศัตรูพืชอย่างปลอดภัยและได้รับการตรวจเลือดเพื่อหาระดับเอนไซม์โคลีนแอสเตอเรสจำนวน 100 คน 2.เครอข่ายอาสาสมัครสาธารณสุข ได้รับการอบรมด้านอาชีวอนามัย จำนวน 70 คน 3.กลุ่มเกษตรกรในพื้นที่ได้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และประสบการณ์ในการทำงาน จำนวน 50 คน
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 220
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 220
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1 เพื่อให้เกษตรกรในพื้นที่รับผิดชอบได้รับการตรวจคัดกรองสุขภาพ และประเมินความเสี่ยงจากการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช มีความรู้เรื่องสมุนไพรล้างพิษและการใช้สารกำจัดศัตรูพืชอย่างปลอดภัย ข้อที่ 2 เพื่อให้เครือข่ายอาสาสมัครสาธารณสุขมีความรู้ด้านชีวอนามัยและสามารถแนะนำเกษตรกรได้ ข้อที่ 3 เพื่อให้มีการจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ให้กับกลุ่มเกษตรกรในชุมชนโดยเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้ (2) ตรวจคัดกรองสุขภาพเกษตรกร ประเมินความเสี่ยงจาการใช้สารเคมี (3) จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเกษตรปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย สมุนไพรล้างพิษ กายจิตผ่องใส จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-L5171-2-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางปิยาเรืองหนู )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด