โครงการพลัง อสม. ร่วมใจป้องกันภัยวัณโรค ปี 2561
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการพลัง อสม. ร่วมใจป้องกันภัยวัณโรค ปี 2561 ”
ตำบลตลิ่งชัน อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นายเจะอาเรน บินหมัด
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตลิ่งชัน
กันยายน 2561
ชื่อโครงการ โครงการพลัง อสม. ร่วมใจป้องกันภัยวัณโรค ปี 2561
ที่อยู่ ตำบลตลิ่งชัน อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 61-5179-02-08 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการพลัง อสม. ร่วมใจป้องกันภัยวัณโรค ปี 2561 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตลิ่งชัน อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตลิ่งชัน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการพลัง อสม. ร่วมใจป้องกันภัยวัณโรค ปี 2561
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการพลัง อสม. ร่วมใจป้องกันภัยวัณโรค ปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตลิ่งชัน อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61-5179-02-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 22,250.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตลิ่งชัน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
วัณโรคเป็นโรคติดต่อที่กำลังเป็นปัญหาสำคัญด้านสาธารณสุขเป็นสาเหตุของการป่วย และการเสียชีวิตในหลายๆประเทศทั่วโลกอีกทั้งปัจจุบันการแพร่ระบาดของโรคเอดส์ทำให้ปัญหาวัณโรคมีความรุนแรงเพิ่มขึ้นวัณโรคจึงนับเป็นปัญหาที่ท้าทายต่อวงการสาธารณสุขของประเทศต่างๆ (กรมควบคุมโรคกระทรวงสาธารณสุข,2548) ปัจจุบันทั่วโลกมีผู้ที่ติดเชื้อวัณโรคประมาณ 2 พันล้านคน หรือเกือบ 1 ใน 3 ของประชากรโลก มีผู้ป่วยวัณโรคเสียชีวิต 1.90 ล้านคนในแต่ละปี ประเทศไทยมีปัจจัยหลายอย่างที่เป็นอุปสรรคต่อการดำเนินงาน และการขยายงานในการควบคุมวัณโรค ทั้งปัจจัยด้านผู้ป่วยสิ่งแวดล้อม สังคม และเศรษฐกิจ เช่น ความยากจน การด้อยโอกาสทางการศึกษา ชุมชนแออัด ปัญหายาเสพติด แรงงานย้ายถิ่น แรงงานต่างชาติผิดกฎหมาย ความแออัดของผู้ต้องขังในเรือนจำ เป็นต้น จากการคำนวณทางระบาดวิทยาในรายงานขององค์การอนามัยโลกคาดว่า ประเทศไทยน่าจะมีผู้ป่วยรายใหม่ทุกประเภทประมาณ 92,300 คน ในจำนวนนี้ประมาณครึ่งหนึ่ง หรือ 44,475 คนเป็นผู้ป่าวยที่สามารถแพร่เชื้อได้ และมีผู้ป่วยวัณโรคเสียชีวิตปีละ 12,089 ราย นอกจากนี้ยังพบว่าผู้ป่วยโรคเอดส์รายใหม่ตรวจพบวัณโรคร่วมด้วย ประมาณร้อยละ 17 ในปี พ.ศ. 2553 ประเทศไทยมีผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ชนิดเสมหะ พบเชื้อจำนวน 25,966 ราย ราวมผู้ป่วยวัณโรคทุกประเภทมีจำนวน 53,357 ราย เสียชีวิต 2,548 ราย อัตราการตรวจพบผู้ป่วยรายใหม่คิดเป็นร้อยละ 96.00 ซึ่งยังไม่บรรลุเป้าหมายขององค์การอนามัยโลกที่มีเป้าหมายอัตราการตรวจพบผู้ป่วยรายใหม่ อยู่ที่ร้อยละ 85.00 ภายในปี ค.ศ.2015 มีอัตราความสำเร็จของการรักษาคิดเป็น ร้อยละ 87.00 ภายในปี ค.ศ.2015 (สำนักวัณโรคกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข,2553) สถานการณ์วัณโรคในตำบลตลิ่งชัน อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา ตั้งแต่ปีงบประมาณ 2558 ถึง 2560 มีผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ 4 ราย , 11 ราย และ 8 ราย ตามลำดับ ซึ่งจะเห็นได้ว่ายังคงมีผู้ป่วยวัณโรครายใหม่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง ด้วยความตระหนักถึงปัญหาวัณโรคในชุมชนทางชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลตลิ่งชัน จึงได้จัดทำโครงการควบคุมป้อมกันและค้นหาผู้ป่วยวัณโรค ปี 2561 เพื่อพัฒนาศักยภาพของแกนนำสุขภาพในเรื่องของวัณโรคและแนวทางการคัดกรองที่ถูกต้องรวมทั้งการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้เรื่องวัณโรคแก่ชุมชน และดำเนินการเร่งรัดการค้นหาผู้ที่มีอาการเข้าได้รับวัณโรค รวมทั้งมีการดำเนินการส่งต่อเพื่อเข้ารักษาโดยเร็ว
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้แกนนำสุขภาพได้รับความรู้เรื่องวัณโรคและแนวทางการคัดกรองที่ถูกต้อง
- เพื่อให้ผู้ติดเชื้อวัณโรคได้รับการรักษาที่ถูกต้อง ทันเวลา
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมให้ความรู้ และแนวทางการคัดกรอง
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
110
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- แกนนำสุขภาพมีความรู้ความสามารถแนวทางการคัดกรองที่ถูกต้อง
- ประชาชนที่ติดเชื้อวัณโรคได้รับการรักษาที่ถูกต้อง ทันเวลา
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. อบรมให้ความรู้ และแนวทางการคัดกรอง
วันที่ 2 พฤศจิกายน 2561กิจกรรมที่ทำ
- อบรมให้ความรู้ เรื่องวัณโรค และแนวทางการคัดกรอง โดยมีผู้เข้าร่วมอบรม จำนวน 110 คน
- ค้นหาและตรวจคัดกรองกลุ่มเสี่ยงทั้งในสถานบริการและชุมชน
- สรุปผลการดำเนินการ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
กลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองอย่างครอบคลุม หากพบผู้ที่มีลักษณะอาการเข้าข่ายเป็นผู้ติดเชื้อวัณโรครายใหม่จะมีการดำเนินการติดตามบุคคลนั้นมาที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตลิ่งชัน เพื่อดำเนินการส่งตัวไปยังโรงพยาบาลจะนะต่อไป
110
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
- แกนนำสุขภาพมีความรู้เรื่องวัณโรคเพิ่มมากขึ้น และสามารถนำความนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการคัดกรองกลุ่มเป้าหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- กลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองอย่างครอบคลุม
- กลุ่มเป้าหมายที่ติดเชื้อวัณโรครายใหม่ได้รับการรักษาที่ถูกต้องและทันเวลา
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้แกนนำสุขภาพได้รับความรู้เรื่องวัณโรคและแนวทางการคัดกรองที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : แกนนำสุขภาพมีความรู้เรื่องวัณโรคและแนวทางการคัดกรองที่ถูกต้อง สามารถถ่ายทอดความรู้แก่ประชาชนได้ ร้อยละ 80
0.00
2
เพื่อให้ผู้ติดเชื้อวัณโรคได้รับการรักษาที่ถูกต้อง ทันเวลา
ตัวชี้วัด : ประชากรกลุ่มเสี่ยงได้รับการคัดกรองเชิงรุก ร้อยละ 80
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
110
110
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
110
110
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้แกนนำสุขภาพได้รับความรู้เรื่องวัณโรคและแนวทางการคัดกรองที่ถูกต้อง (2) เพื่อให้ผู้ติดเชื้อวัณโรคได้รับการรักษาที่ถูกต้อง ทันเวลา
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้ และแนวทางการคัดกรอง
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
การดำเนินการคัดกรองวัณโรคให้ประชาชนของ อสม. ส่วนใหญ่จะดำเนินการในเวลากลางวัน ซึ่งเป็นเวลาที่ผู้คนจะออกไปทำงานนอกบ้าน จึงทำให้ประชาชนไม่ได้รับการคัดกรอง
ช่วงเวลากลางวัน ประชาชนส่วนใหญ่ออกไปทำงาน
ปรับช่วงเวลาในการคัดกรอง จากกลางวันเป็นตอนเย็น และมีการนัดช่วงเวลาก่อนระหว่างผู้คัดกรองและผู้ถูกคัดกรอง
โครงการพลัง อสม. ร่วมใจป้องกันภัยวัณโรค ปี 2561 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 61-5179-02-08
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายเจะอาเรน บินหมัด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการพลัง อสม. ร่วมใจป้องกันภัยวัณโรค ปี 2561 ”
ตำบลตลิ่งชัน อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นายเจะอาเรน บินหมัด
กันยายน 2561
ที่อยู่ ตำบลตลิ่งชัน อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 61-5179-02-08 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการพลัง อสม. ร่วมใจป้องกันภัยวัณโรค ปี 2561 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตลิ่งชัน อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตลิ่งชัน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการพลัง อสม. ร่วมใจป้องกันภัยวัณโรค ปี 2561
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการพลัง อสม. ร่วมใจป้องกันภัยวัณโรค ปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตลิ่งชัน อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61-5179-02-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 22,250.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตลิ่งชัน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
วัณโรคเป็นโรคติดต่อที่กำลังเป็นปัญหาสำคัญด้านสาธารณสุขเป็นสาเหตุของการป่วย และการเสียชีวิตในหลายๆประเทศทั่วโลกอีกทั้งปัจจุบันการแพร่ระบาดของโรคเอดส์ทำให้ปัญหาวัณโรคมีความรุนแรงเพิ่มขึ้นวัณโรคจึงนับเป็นปัญหาที่ท้าทายต่อวงการสาธารณสุขของประเทศต่างๆ (กรมควบคุมโรคกระทรวงสาธารณสุข,2548) ปัจจุบันทั่วโลกมีผู้ที่ติดเชื้อวัณโรคประมาณ 2 พันล้านคน หรือเกือบ 1 ใน 3 ของประชากรโลก มีผู้ป่วยวัณโรคเสียชีวิต 1.90 ล้านคนในแต่ละปี ประเทศไทยมีปัจจัยหลายอย่างที่เป็นอุปสรรคต่อการดำเนินงาน และการขยายงานในการควบคุมวัณโรค ทั้งปัจจัยด้านผู้ป่วยสิ่งแวดล้อม สังคม และเศรษฐกิจ เช่น ความยากจน การด้อยโอกาสทางการศึกษา ชุมชนแออัด ปัญหายาเสพติด แรงงานย้ายถิ่น แรงงานต่างชาติผิดกฎหมาย ความแออัดของผู้ต้องขังในเรือนจำ เป็นต้น จากการคำนวณทางระบาดวิทยาในรายงานขององค์การอนามัยโลกคาดว่า ประเทศไทยน่าจะมีผู้ป่วยรายใหม่ทุกประเภทประมาณ 92,300 คน ในจำนวนนี้ประมาณครึ่งหนึ่ง หรือ 44,475 คนเป็นผู้ป่าวยที่สามารถแพร่เชื้อได้ และมีผู้ป่วยวัณโรคเสียชีวิตปีละ 12,089 ราย นอกจากนี้ยังพบว่าผู้ป่วยโรคเอดส์รายใหม่ตรวจพบวัณโรคร่วมด้วย ประมาณร้อยละ 17 ในปี พ.ศ. 2553 ประเทศไทยมีผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ชนิดเสมหะ พบเชื้อจำนวน 25,966 ราย ราวมผู้ป่วยวัณโรคทุกประเภทมีจำนวน 53,357 ราย เสียชีวิต 2,548 ราย อัตราการตรวจพบผู้ป่วยรายใหม่คิดเป็นร้อยละ 96.00 ซึ่งยังไม่บรรลุเป้าหมายขององค์การอนามัยโลกที่มีเป้าหมายอัตราการตรวจพบผู้ป่วยรายใหม่ อยู่ที่ร้อยละ 85.00 ภายในปี ค.ศ.2015 มีอัตราความสำเร็จของการรักษาคิดเป็น ร้อยละ 87.00 ภายในปี ค.ศ.2015 (สำนักวัณโรคกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข,2553) สถานการณ์วัณโรคในตำบลตลิ่งชัน อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา ตั้งแต่ปีงบประมาณ 2558 ถึง 2560 มีผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ 4 ราย , 11 ราย และ 8 ราย ตามลำดับ ซึ่งจะเห็นได้ว่ายังคงมีผู้ป่วยวัณโรครายใหม่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง ด้วยความตระหนักถึงปัญหาวัณโรคในชุมชนทางชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลตลิ่งชัน จึงได้จัดทำโครงการควบคุมป้อมกันและค้นหาผู้ป่วยวัณโรค ปี 2561 เพื่อพัฒนาศักยภาพของแกนนำสุขภาพในเรื่องของวัณโรคและแนวทางการคัดกรองที่ถูกต้องรวมทั้งการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้เรื่องวัณโรคแก่ชุมชน และดำเนินการเร่งรัดการค้นหาผู้ที่มีอาการเข้าได้รับวัณโรค รวมทั้งมีการดำเนินการส่งต่อเพื่อเข้ารักษาโดยเร็ว
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้แกนนำสุขภาพได้รับความรู้เรื่องวัณโรคและแนวทางการคัดกรองที่ถูกต้อง
- เพื่อให้ผู้ติดเชื้อวัณโรคได้รับการรักษาที่ถูกต้อง ทันเวลา
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมให้ความรู้ และแนวทางการคัดกรอง
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 110 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- แกนนำสุขภาพมีความรู้ความสามารถแนวทางการคัดกรองที่ถูกต้อง
- ประชาชนที่ติดเชื้อวัณโรคได้รับการรักษาที่ถูกต้อง ทันเวลา
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. อบรมให้ความรู้ และแนวทางการคัดกรอง |
||
วันที่ 2 พฤศจิกายน 2561กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองอย่างครอบคลุม หากพบผู้ที่มีลักษณะอาการเข้าข่ายเป็นผู้ติดเชื้อวัณโรครายใหม่จะมีการดำเนินการติดตามบุคคลนั้นมาที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตลิ่งชัน เพื่อดำเนินการส่งตัวไปยังโรงพยาบาลจะนะต่อไป
|
110 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
- แกนนำสุขภาพมีความรู้เรื่องวัณโรคเพิ่มมากขึ้น และสามารถนำความนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการคัดกรองกลุ่มเป้าหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- กลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองอย่างครอบคลุม
- กลุ่มเป้าหมายที่ติดเชื้อวัณโรครายใหม่ได้รับการรักษาที่ถูกต้องและทันเวลา
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้แกนนำสุขภาพได้รับความรู้เรื่องวัณโรคและแนวทางการคัดกรองที่ถูกต้อง ตัวชี้วัด : แกนนำสุขภาพมีความรู้เรื่องวัณโรคและแนวทางการคัดกรองที่ถูกต้อง สามารถถ่ายทอดความรู้แก่ประชาชนได้ ร้อยละ 80 |
0.00 |
|
||
2 | เพื่อให้ผู้ติดเชื้อวัณโรคได้รับการรักษาที่ถูกต้อง ทันเวลา ตัวชี้วัด : ประชากรกลุ่มเสี่ยงได้รับการคัดกรองเชิงรุก ร้อยละ 80 |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 110 | 110 | |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 110 | 110 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้แกนนำสุขภาพได้รับความรู้เรื่องวัณโรคและแนวทางการคัดกรองที่ถูกต้อง (2) เพื่อให้ผู้ติดเชื้อวัณโรคได้รับการรักษาที่ถูกต้อง ทันเวลา
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้ และแนวทางการคัดกรอง
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
การดำเนินการคัดกรองวัณโรคให้ประชาชนของ อสม. ส่วนใหญ่จะดำเนินการในเวลากลางวัน ซึ่งเป็นเวลาที่ผู้คนจะออกไปทำงานนอกบ้าน จึงทำให้ประชาชนไม่ได้รับการคัดกรอง |
ช่วงเวลากลางวัน ประชาชนส่วนใหญ่ออกไปทำงาน |
ปรับช่วงเวลาในการคัดกรอง จากกลางวันเป็นตอนเย็น และมีการนัดช่วงเวลาก่อนระหว่างผู้คัดกรองและผู้ถูกคัดกรอง |
โครงการพลัง อสม. ร่วมใจป้องกันภัยวัณโรค ปี 2561 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 61-5179-02-08
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายเจะอาเรน บินหมัด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......