โครงการความสุขและการรับรู้คุณค่าของตัวเองเพื่อป้องกันโรคซึมเศร้า ปี 2560
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการความสุขและการรับรู้คุณค่าของตัวเองเพื่อป้องกันโรคซึมเศร้า ปี 2560 ”
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบือราเป๊ะ ตำบลโคกเคียน อำเภอเมืองจังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นายพิรัช ตั้งผดุงวงค์
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกเคียน
ธันวาคม 2560
ชื่อโครงการ โครงการความสุขและการรับรู้คุณค่าของตัวเองเพื่อป้องกันโรคซึมเศร้า ปี 2560
ที่อยู่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบือราเป๊ะ ตำบลโคกเคียน อำเภอเมืองจังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 60-L2492-1-3 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2560 ถึง 31 ธันวาคม 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการความสุขและการรับรู้คุณค่าของตัวเองเพื่อป้องกันโรคซึมเศร้า ปี 2560 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบือราเป๊ะ ตำบลโคกเคียน อำเภอเมืองจังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกเคียน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการความสุขและการรับรู้คุณค่าของตัวเองเพื่อป้องกันโรคซึมเศร้า ปี 2560
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการความสุขและการรับรู้คุณค่าของตัวเองเพื่อป้องกันโรคซึมเศร้า ปี 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบือราเป๊ะ ตำบลโคกเคียน อำเภอเมืองจังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 60-L2492-1-3 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤษภาคม 2560 - 31 ธันวาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 49,300.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกเคียน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากสถานการณ์โรคซึมเศร้าในประเทศไทย กรมสุขภาพจิตรรายงานว่ามีผู้ป่วยร้อยละ 5 ของประชากรทั้งหมดหรือประมาณ 3 ล้านคน และมีแนวโน้มสูงขึ้นเรื่อยๆ แต่ในปัจจุบันพบว่าคนไทยให้ความสนใจกับโรคนี้น้อยมักมีทัศนคติในทางลบ คิดว่าเป็นโรคจิตโรคประสาทหรือบ้า ทำให้ไม่กล้ารับการรักษา จึงพบว่าการเข้าถึงบริการและการวินิจฉัยรักษาเพียงร้อยละ 28 เท่านั้น โรคซึมเศร้าเป็นปัญหาทางสาธารณสุขที่สำคัญหากไม่ได้รับการรักษาที่ทันท่วงทีจะก่อให้เกิดการสูญเสียสุขภาวะ ส่งผลกระทบต่อครอบครัว สังคมและเศรษฐกิจรวมทั้งเป็นภาระค่าใช้จ่ายในการรักษาของภาครัฐ นอกจากนี้หากเป็นเรื้อรังจะทำให้ผู้ป่วยมีความคิดทำร้ายตนเองและฆ่าตัวตายในที่สุด ซึ่งปัจจัยที่ส่งเสริมให้คนป่วยเป็นโรคซึมเศร้ามีหลายปัจจัย ได้แก่พันธุกรรม ความเครียด การเปลี่ยนแปลงของสารเคมีในสมอง การเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมน ผู้ที่เก็บกดอารมณ์ มองโลกในแง่ร้าย มีโรคทางกายหรือโรคเรื้อรังเนื่องจากโรคเรื้อรัง เป็นการเจ็บป่วยที่รักษาไม่หายขาด ใช้เวลารักษายาวนาน มีผลกระทบต่อร่างกายทุกระบบต้องได้รับการดูแลแบบประคับประคอง เพื่อให้ร่างกายสามารถทำงานได้ตามปกติและลดภาวะแทรกซื้อต่าง ๆ ที่จะตามมา การเจ็บป่วยเรื้อรังไม่สามารถกลับคืนสู่สภาพปกติได้ ต้องการฟื้นฟูและต้องใช้ระยะเวลานานในการดูแลรักษาต่อเนื่องตลอดไป ดังนั้นการเจ็บป่วยเรื้อรังก่อให้เกิดผลกระทบต่อการดำเนินชีวิต ของผู้ป่วยอย่างไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ เนื่องจากการเจ็บป่วยทำให้มีการเปลี่ยนแปลงทั้งร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม ครอบครัวและเศษฐกิจ ส่งผลให้ผู้ป่วยมีความเครียด วิตกกังวล หากผู้ป่วยไม่สามารถจัดการกับความเครียดและความวิตกกังวลจะก่อให้เกิดปัญหาทางสุขภาพจิตที่รุนแรงขึ้นได้ ทำให้เกิดความท้อแท้ สิ้นหวัง เบื่อหน่าย ความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองลดลง มีภาวะซึมเศร้าดังนั้นทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบือราเป๊ะ ได้เล็งเห็นความสำคัญในการป้องกันและค้นหาผู้ที่เสี่ยงต่อการป่วยเป็นโรคซึมเศร้า จึงได้จัดทำโครงการความสุขและการรับรู้คุณค่าของตนเอง เพื่อป้องกันโรคซึมเศร้า
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อคัดกรองและค้นหาโรคซึมเศร้าในประชาชนในเขตรับผิดชอบ
- เพื่อให้ประชาชนและครอบครัวตระหนักรู้ตนเอง เพิ่มความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองและดำเนินชีวิตได้อย่างสอดคล้องและกลมกลืนกับตนเอง ผู้อื่นและสิ่งแวดล้อมอย่างเป็นสุขมากขึ้น
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมเชิงปฎิบัติการแกนนำ อสม. ประชาชนทั่วไป
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
270
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ประชาชนในเขตรับผิดชอบเข้าถึงบริการโรคซึมเศร้ามากขึ้น
2.ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคซึมเศร้าได้มากขึ้น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. อบรมเชิงปฎิบัติการแกนนำ อสม. ประชาชนทั่วไป
วันที่ 15 ธันวาคม 2560 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
อบรมเชิงปฎิบัติการแกนนำ อสม. ประชาชนทั่วไป/แกนนำ อสม. ประชาชนทั่วไปมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องอาการเบื้องต้นของโรคซึมเศร้าและสามารถรับมือกับภาวะซึมเศร้าที่อาจเกิดขึ้นกับตนเองและคนรอบข้าง
270
270
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
อบรมเชิงปฎิบัติการ แกนนำ อสม.ประชาชนทั่วไป จำนวน 270 คน แบ่งเป็น 3 รุ่น ๆละ 90 คน ณ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบือราเป๊ะ ตำบลโคกเคียน อำเภอเมือง จังหวัดนราธิวาส ได้เชิญวิทยากร 3 ท่าน คือ นางโรฮานี บินตีฮะซัน ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ จากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโคกเคียน นางอัฉรา บินแวดาโอะ ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ จากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านสะปอม และนางอาอีซะห์ ศรียาน ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านสุไหงบาลา มาให้ความรู้และบรรยายเชิงปฎิบัติการแก่แกนนำ อสม.และประชาชนทั่วไป สามารถนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวันและแนะนะผู้อื่นได้ถูกต้อง ดังนี้
-แกนนำ อสม. และประชาชนทั่วไปมีความรู้ความเข้าใจ ในเรื่องอาการเบื้องต้นของโรคซึมเศร้า และสามารถรับมือกับภาวะซึมเศร้าที่อาจเกิดขึ้นกับตนเองและคนรอบข้างได้ สามารถนำวิธีการผ่อนคลายและวิธีการนวดผ่อนคลายไปใช้ในชีวิตประจำวันได้และสามารถถ่ายทอดวิธีการผ่อนคลายให้กับผู้อื่นได้ร้อยละ 100
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อคัดกรองและค้นหาโรคซึมเศร้าในประชาชนในเขตรับผิดชอบ
ตัวชี้วัด : ประชาชนในเขตรับผิดชอบเข้าถึงบริการโรคซึมเศร้ามากขึ้น
2
เพื่อให้ประชาชนและครอบครัวตระหนักรู้ตนเอง เพิ่มความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองและดำเนินชีวิตได้อย่างสอดคล้องและกลมกลืนกับตนเอง ผู้อื่นและสิ่งแวดล้อมอย่างเป็นสุขมากขึ้น
ตัวชี้วัด :
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
270
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
270
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อคัดกรองและค้นหาโรคซึมเศร้าในประชาชนในเขตรับผิดชอบ (2) เพื่อให้ประชาชนและครอบครัวตระหนักรู้ตนเอง เพิ่มความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองและดำเนินชีวิตได้อย่างสอดคล้องและกลมกลืนกับตนเอง ผู้อื่นและสิ่งแวดล้อมอย่างเป็นสุขมากขึ้น
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมเชิงปฎิบัติการแกนนำ อสม. ประชาชนทั่วไป
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการความสุขและการรับรู้คุณค่าของตัวเองเพื่อป้องกันโรคซึมเศร้า ปี 2560 จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 60-L2492-1-3
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายพิรัช ตั้งผดุงวงค์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการความสุขและการรับรู้คุณค่าของตัวเองเพื่อป้องกันโรคซึมเศร้า ปี 2560 ”
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบือราเป๊ะ ตำบลโคกเคียน อำเภอเมืองจังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นายพิรัช ตั้งผดุงวงค์
ธันวาคม 2560
ที่อยู่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบือราเป๊ะ ตำบลโคกเคียน อำเภอเมืองจังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 60-L2492-1-3 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2560 ถึง 31 ธันวาคม 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการความสุขและการรับรู้คุณค่าของตัวเองเพื่อป้องกันโรคซึมเศร้า ปี 2560 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบือราเป๊ะ ตำบลโคกเคียน อำเภอเมืองจังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกเคียน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการความสุขและการรับรู้คุณค่าของตัวเองเพื่อป้องกันโรคซึมเศร้า ปี 2560
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการความสุขและการรับรู้คุณค่าของตัวเองเพื่อป้องกันโรคซึมเศร้า ปี 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบือราเป๊ะ ตำบลโคกเคียน อำเภอเมืองจังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 60-L2492-1-3 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤษภาคม 2560 - 31 ธันวาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 49,300.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกเคียน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากสถานการณ์โรคซึมเศร้าในประเทศไทย กรมสุขภาพจิตรรายงานว่ามีผู้ป่วยร้อยละ 5 ของประชากรทั้งหมดหรือประมาณ 3 ล้านคน และมีแนวโน้มสูงขึ้นเรื่อยๆ แต่ในปัจจุบันพบว่าคนไทยให้ความสนใจกับโรคนี้น้อยมักมีทัศนคติในทางลบ คิดว่าเป็นโรคจิตโรคประสาทหรือบ้า ทำให้ไม่กล้ารับการรักษา จึงพบว่าการเข้าถึงบริการและการวินิจฉัยรักษาเพียงร้อยละ 28 เท่านั้น โรคซึมเศร้าเป็นปัญหาทางสาธารณสุขที่สำคัญหากไม่ได้รับการรักษาที่ทันท่วงทีจะก่อให้เกิดการสูญเสียสุขภาวะ ส่งผลกระทบต่อครอบครัว สังคมและเศรษฐกิจรวมทั้งเป็นภาระค่าใช้จ่ายในการรักษาของภาครัฐ นอกจากนี้หากเป็นเรื้อรังจะทำให้ผู้ป่วยมีความคิดทำร้ายตนเองและฆ่าตัวตายในที่สุด ซึ่งปัจจัยที่ส่งเสริมให้คนป่วยเป็นโรคซึมเศร้ามีหลายปัจจัย ได้แก่พันธุกรรม ความเครียด การเปลี่ยนแปลงของสารเคมีในสมอง การเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมน ผู้ที่เก็บกดอารมณ์ มองโลกในแง่ร้าย มีโรคทางกายหรือโรคเรื้อรังเนื่องจากโรคเรื้อรัง เป็นการเจ็บป่วยที่รักษาไม่หายขาด ใช้เวลารักษายาวนาน มีผลกระทบต่อร่างกายทุกระบบต้องได้รับการดูแลแบบประคับประคอง เพื่อให้ร่างกายสามารถทำงานได้ตามปกติและลดภาวะแทรกซื้อต่าง ๆ ที่จะตามมา การเจ็บป่วยเรื้อรังไม่สามารถกลับคืนสู่สภาพปกติได้ ต้องการฟื้นฟูและต้องใช้ระยะเวลานานในการดูแลรักษาต่อเนื่องตลอดไป ดังนั้นการเจ็บป่วยเรื้อรังก่อให้เกิดผลกระทบต่อการดำเนินชีวิต ของผู้ป่วยอย่างไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ เนื่องจากการเจ็บป่วยทำให้มีการเปลี่ยนแปลงทั้งร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม ครอบครัวและเศษฐกิจ ส่งผลให้ผู้ป่วยมีความเครียด วิตกกังวล หากผู้ป่วยไม่สามารถจัดการกับความเครียดและความวิตกกังวลจะก่อให้เกิดปัญหาทางสุขภาพจิตที่รุนแรงขึ้นได้ ทำให้เกิดความท้อแท้ สิ้นหวัง เบื่อหน่าย ความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองลดลง มีภาวะซึมเศร้าดังนั้นทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบือราเป๊ะ ได้เล็งเห็นความสำคัญในการป้องกันและค้นหาผู้ที่เสี่ยงต่อการป่วยเป็นโรคซึมเศร้า จึงได้จัดทำโครงการความสุขและการรับรู้คุณค่าของตนเอง เพื่อป้องกันโรคซึมเศร้า
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อคัดกรองและค้นหาโรคซึมเศร้าในประชาชนในเขตรับผิดชอบ
- เพื่อให้ประชาชนและครอบครัวตระหนักรู้ตนเอง เพิ่มความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองและดำเนินชีวิตได้อย่างสอดคล้องและกลมกลืนกับตนเอง ผู้อื่นและสิ่งแวดล้อมอย่างเป็นสุขมากขึ้น
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมเชิงปฎิบัติการแกนนำ อสม. ประชาชนทั่วไป
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 270 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ประชาชนในเขตรับผิดชอบเข้าถึงบริการโรคซึมเศร้ามากขึ้น 2.ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคซึมเศร้าได้มากขึ้น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. อบรมเชิงปฎิบัติการแกนนำ อสม. ประชาชนทั่วไป |
||
วันที่ 15 ธันวาคม 2560 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นอบรมเชิงปฎิบัติการแกนนำ อสม. ประชาชนทั่วไป/แกนนำ อสม. ประชาชนทั่วไปมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องอาการเบื้องต้นของโรคซึมเศร้าและสามารถรับมือกับภาวะซึมเศร้าที่อาจเกิดขึ้นกับตนเองและคนรอบข้าง
|
270 | 270 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
อบรมเชิงปฎิบัติการ แกนนำ อสม.ประชาชนทั่วไป จำนวน 270 คน แบ่งเป็น 3 รุ่น ๆละ 90 คน ณ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบือราเป๊ะ ตำบลโคกเคียน อำเภอเมือง จังหวัดนราธิวาส ได้เชิญวิทยากร 3 ท่าน คือ นางโรฮานี บินตีฮะซัน ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ จากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโคกเคียน นางอัฉรา บินแวดาโอะ ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ จากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านสะปอม และนางอาอีซะห์ ศรียาน ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านสุไหงบาลา มาให้ความรู้และบรรยายเชิงปฎิบัติการแก่แกนนำ อสม.และประชาชนทั่วไป สามารถนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวันและแนะนะผู้อื่นได้ถูกต้อง ดังนี้ -แกนนำ อสม. และประชาชนทั่วไปมีความรู้ความเข้าใจ ในเรื่องอาการเบื้องต้นของโรคซึมเศร้า และสามารถรับมือกับภาวะซึมเศร้าที่อาจเกิดขึ้นกับตนเองและคนรอบข้างได้ สามารถนำวิธีการผ่อนคลายและวิธีการนวดผ่อนคลายไปใช้ในชีวิตประจำวันได้และสามารถถ่ายทอดวิธีการผ่อนคลายให้กับผู้อื่นได้ร้อยละ 100
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อคัดกรองและค้นหาโรคซึมเศร้าในประชาชนในเขตรับผิดชอบ ตัวชี้วัด : ประชาชนในเขตรับผิดชอบเข้าถึงบริการโรคซึมเศร้ามากขึ้น |
|
|||
2 | เพื่อให้ประชาชนและครอบครัวตระหนักรู้ตนเอง เพิ่มความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองและดำเนินชีวิตได้อย่างสอดคล้องและกลมกลืนกับตนเอง ผู้อื่นและสิ่งแวดล้อมอย่างเป็นสุขมากขึ้น ตัวชี้วัด : |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 270 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 270 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อคัดกรองและค้นหาโรคซึมเศร้าในประชาชนในเขตรับผิดชอบ (2) เพื่อให้ประชาชนและครอบครัวตระหนักรู้ตนเอง เพิ่มความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองและดำเนินชีวิตได้อย่างสอดคล้องและกลมกลืนกับตนเอง ผู้อื่นและสิ่งแวดล้อมอย่างเป็นสุขมากขึ้น
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมเชิงปฎิบัติการแกนนำ อสม. ประชาชนทั่วไป
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการความสุขและการรับรู้คุณค่าของตัวเองเพื่อป้องกันโรคซึมเศร้า ปี 2560 จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 60-L2492-1-3
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายพิรัช ตั้งผดุงวงค์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......