กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด


“ เฝ้าระวังควบคุมป้องกันโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ปีงบประมาณ 2560 ”

ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางสาวปิยวรรณ แสงทอง

ชื่อโครงการ เฝ้าระวังควบคุมป้องกันโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ปีงบประมาณ 2560

ที่อยู่ ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 2-001-60 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 26 มกราคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"เฝ้าระวังควบคุมป้องกันโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ปีงบประมาณ 2560 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
เฝ้าระวังควบคุมป้องกันโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ปีงบประมาณ 2560



บทคัดย่อ

โครงการ " เฝ้าระวังควบคุมป้องกันโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ปีงบประมาณ 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 2-001-60 ระยะเวลาการดำเนินงาน 26 มกราคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 28,125.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูงซึ่งเป็นโรคติดต่อเรื้อรังที่เป็นปัญหาสาธารณสุขที่ส าคัญ ได้คุกคามชีวิต ของคนไทยจ านวนมาก ซึ่งเป็นสาเหตุของการป่วย พิการ และเสียชีวิต ตลอดจนเป็นภาระต่องบประมาณด้านการดูแล สุขภาพของคนไทยที่เพิ่มมากขึ้นในอนาคต ในประเทศไทยนั้น อุบัติการณ์โรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง ในแต่ละปี เพิ่มสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจของประเทศไทยเป็นอย่างมาก เนื่องจากโรคเรื้อรังเป็นโรคที่จ าเป็นต้อง รักษาอย่างต่อเนื่อง และยาวนาน มีค่าใช้จ่ายด้านการรักษาสูงมาก ดังจะเห็นได้จากสถานบริการสาธารณสุขทั้งของ ภาครัฐ เอกชน และสถานบริการทุกระดับตั้งแต่ปฐมภูมิ ทุติยภูมิและตติยภูมิ ต่างแออัดไปด้วยผู้ป่วยด้วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง ส่งผลให้งบประมาณที่รัฐจัดสรรให้ส าหรับโครงการประกันสุขภาพถ้วนหน้าตามรายหัวประชากร จะต้องเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องเพื่อให้เพียงพอต่อการใช้จ่ายด้านยา บุคลากร การจัดสถานที่และเครื่องมือแพทย์ต่างๆ ในขณะที่งบประมาณของประเทศมีอยู่อย่างจ ากัด กระทรวงสาธารณสุข จึงมีมาตรการเชิงรุกในการป้องกันและแก้ไข ปัญหาโรค Metabolic โดยมีการคัดกรองพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง โดยมีเป้าหมาย ประชากรกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไปทุกราย ต้องได้รับการตรวจคัดกรองความเสี่ยงโรค Metabolic ด้วยการสัมภาษณ์โดยใช้ แบบสอบถาม (Verbal Screening) การวัดค่าความดันโลหิต การชั่งน้ าหนัก การวัดความสูง การวัดเส้นรอบเอว และการ เจาะเลือดปลายนิ้วเพื่อตรวจค่าระดับน้ าตาลในเลือด เพื่อค้นหาพฤติกรรมเสี่ยงและค้นหาโรคในระยะเริ่มต้น เพื่อที่จะมี การด าเนินการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยง รวมทั้งกลุ่มที่สงสัยจะเป็นโรคต้องส่งไปรับการรักษาตั้งแต่เริ่มแรกทุกราย อันจะส่งผลให้ลดความรุนแรงของโรคในรายที่ป่วยแล้ว พร้อมบันทึกข้อมูลลงตามโปรแกรมคัดกรองเบาหวานและความ ดันโลหิตสูง จากการที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบลคลองขุด (สาขา) ได้ด าเนินงานตรวจคัดกรอง เบาหวานและความดัน โลหิต ตามโครงการเฝ้าระวังควบคุมป้องกันโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ในปีงบประมาณ 2558 พบว่า ประชากรกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไป จ านวน 3,415 คน ได้รับการคัดกรองทั้งสิ้น 2,512 คิดเป็นร้อยละ 73.6 ซึ่งจาก การคัดกรองเบาหวาน พบว่า มีกลุ่มปกติ จ านวน 463 คน คิดเป็นร้อยละ 57.9 กลุ่มเสี่ยง จ านวน 236 คน คิดเป็น ร้อยละ 29.5 และกลุ่มที่ต้องได้รับการรักษา/ส่งต่อ จ านวน 101 คน คิดเป็นร้อยละ 12.6 จากการคัดกรองความดัน พบว่า มีกลุ่มปกติ จ านวน 491 คน คิดเป็นร้อยละ 61.4 กลุ่มเสี่ยง จ านวน 203 คน คิดเป็นร้อยละ 25.4 และกลุ่ม
2 ที่ต้องได้รับการรักษา/ส่งต่อ จ านวน 106 คน คิดเป็นร้อยละ 13.2 จากการตรวจคัดกรองดัชนีมวลกาย พบว่า กลุ่ม BMI ปกติ จ านวน 363 คน คิดเป็นร้อยละ 45.4 กลุ่ม BMI ต่ า (ผอม) จ านวน 21 คน คิดเป็นร้อยละ 16.7 และ กลุ่ม BMI สูง (อ้วน) จ านวน 303 คน คิดเป็นร้อยละ 37.9 ซึ่งอุปสรรคในการคัดกรอง คือ ประชาชนไม่ได้รับการคัด กรองบรรลุตามตัวชี้วัดของกระทรวงสาธารณสุขก าหนด ร้อยละ 90 เนื่องจาก ติดกิจธุระ ไม่สะดวกในช่วงเวลาและ สถานที่ในการคัดกรองของเจ้าหน้าที่และอสม. เป็นตัน จากข้อมูลดังกล่าว โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบลคลองขุด (สาขา) จึงได้จัดท าโครงการเฝ้าระวังควบคุม ป้องกันโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ปีงบประมาณ 2560 ขึ้น เพื่อให้การด าเนินงานการตรวจคัดกรองเบาหวาน และความดันโลหิตมีประสิทธิภาพมากขึ้น เพื่อให้ประชาชนกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการตรวจคัดกรองเบาหวานและ ความดันโลหิตอย่างต่อเนื่อง และบรรลุตามตัวชี้วัดของกระทรวงสาธารณสุขก าหนด ร้อยละ 90

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้ประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ร้อยละ ๙0
  2. 2.เพื่อให้แกนน าประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ในการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง หลังการอบรม ร้อยละ 100

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 895
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับกาตรวจคัดกรองผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 90 ตามกระทรวงก าหนด และหากพบ ผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงหรือกลุ่มป่วย ท าให้สามารถเข้าสู่กระบวนการรักษาได้อย่างถูกต้อง
    2. แกนน าประชาชนมีความรู้ ความสามารถ ในการตรวจคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตในชุมชน ท าให้ เกิดแกนน าด้านสุขภาพในชุมชน

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. กิจกรรมประชุมชี้แจงคณะทำงาน

    วันที่ 8 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต คณะทำงาน จำนวน 10 คน ผลลัพธ์ เตรียมความพร้อมโดยการกำหนดวัน เวลา และสถานที่ที่จะจัดกิกจกรรม และเจ้าหน้าที่ที่ลงพื้นที่เพื่อจัดกิจกรรม

     

    10 10

    2. อบรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ 3,4 และ 7

    วันที่ 10 มีนาคม 2560 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต จำนวน 55 คน ผลลัพธ์ อบรมให้ความรู้ เพิ่มทักษะ การคัดกรอง และจัดทีม อสม.ในการลงกิจกรรมในแต่ละพื้นที่

     

    55 55

    3. กิจกรรมตรวจคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิต

    วันที่ 11 มีนาคม 2560 เวลา 07:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต มีประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป เข้ารับการอบรมให้ความรู้การป้องกันโรคเรื้องรังและรับการตรวจคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตจำนวน 200 คน ผลลัพธ์ ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิต อย่างน้อย ปีละ 1 ครั้ง และได้รู้สภาวะของตนเอง

     

    200 200

    4. กิจกรรมตรวจคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิต

    วันที่ 22 มีนาคม 2560 เวลา 07:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต มีประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป เข้ารับการอบรมให้ความรู้การป้องกันโรคเรื้องรังและรับการตรวจคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตจำนวน 200 คน ผลลัพธ์ ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิต อย่างน้อย ปีละ 1 ครั้ง และได้รู้สภาวะของตนเอง

     

    300 300

    5. กิจกรรมตรวจคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิต

    วันที่ 26 มีนาคม 2560 เวลา 07:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต มีประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป เข้ารับการอบรมให้ความรู้การป้องกันโรคเรื้องรังและรับการตรวจคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตจำนวน 395 คน ผลลัพธ์ ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิต อย่างน้อย ปีละ 1 ครั้ง และได้รู้สภาวะของตนเอง

     

    395 395

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    ผลการดำเนินงาน กิจกรรมอบรมอสม. - อสม.สามารถใช้แบบคัดกรองความเสี่ยงเบื้องต้นต่อการเป็นเบาหวาน ความดันโลหิตสูง หัวใจและหลอดเลือดได้ถูกต้อง - อสม.สามารถสัมภาษณ์ด้วยวาจา (Verbal screening) ได้ถูกต้อง - อสม.ได้รับการฝึกปฏิบัติการวัดความดันโลหิตและการเจาะเลือดปลายนิ้วจริงและสามารถปฏิบัติได้ถูกต้อง กิจกรรมตรวจคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิต -ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปที่ยังไม่ได้รับการตรวจคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิต มีความสนใจเข้ามารับการตรวจคัดกรองดี   จากการตรวจคัดกรองเบาหวาน พบว่า   มีกลุ่มปกติ จำนวน 677 คน   มีกลุ่มเสี่ยง จำนวน 191 คน   มีกลุ่มที่ต้องได้รับการรักษา/ส่งต่อ จำนวน 27 คน   จากการตรวจคัดกรองความดันโลหิต พบว่า   มีกลุ่มปกติ จำนวน 555 คน   มีกลุ่มเสี่ยง จำนวน 246 คน   มีกลุ่มที่ต้องได้รับการรักษา/ส่งต่อ จำนวน 94 คน จากการตรวจคัดกรองดัชนีมวลกาย พบว่า   BMI ปกติ จำนวน 505 คน   BMI ต่ำ (ผอม) จำนวน 32 คน   BMI เกิน (อ้วน) จำนวน 358 คน


    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อให้ประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ร้อยละ ๙0
    ตัวชี้วัด : ประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ร้อยละ ๙0

     

    2 2.เพื่อให้แกนน าประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ในการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง หลังการอบรม ร้อยละ 100
    ตัวชี้วัด : แกนน าประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ในการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง หลังการอบรม ร้อยละ 100

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 895
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 895
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ร้อยละ ๙0 (2) 2.เพื่อให้แกนน าประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ในการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง หลังการอบรม ร้อยละ 100

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    เฝ้าระวังควบคุมป้องกันโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ปีงบประมาณ 2560 จังหวัด สตูล

    รหัสโครงการ 2-001-60

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวปิยวรรณ แสงทอง )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด