กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด


“ อบรมเชิงปฏิบัติการ สืบสานภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยสู่วิถีชุมชน ”

ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางสาวต่วนบีรนี ดาราหมานเศษ

ชื่อโครงการ อบรมเชิงปฏิบัติการ สืบสานภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยสู่วิถีชุมชน

ที่อยู่ ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 16/60 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 26 มกราคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"อบรมเชิงปฏิบัติการ สืบสานภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยสู่วิถีชุมชน จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
อบรมเชิงปฏิบัติการ สืบสานภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยสู่วิถีชุมชน



บทคัดย่อ

โครงการ " อบรมเชิงปฏิบัติการ สืบสานภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยสู่วิถีชุมชน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 16/60 ระยะเวลาการดำเนินงาน 26 มกราคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 108,506.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การแพทย์ เป็นความจ าเป็นในการด าเนินชีวิตของมนุษย์ เนื่องจากร่างกายคนเรา ย่อมเสื่อมสภาพไปตาม ธรรมชาติ หรือด้วยเหตุต่างๆ เพื่อต่อสู้กับภาวะดังกล่าว การค้นหาวิธีปูองกันการเจ็บปุวย การบ าบัดรักษา การบรรเทาอาการเจ็บปุวย และการบริบาล จึงก่อเกิดขึ้นมา และพัฒนาต่อๆ มาจนกับระบบที่มีแบบแผน กลายเป็น "การแพทย์" ที่มีแบบแผนชัดเจน โดยจะเห็นได้ว่า การแพทย์จึงเป็นภูมิปัญญาของสังคม ที่มาจากความเชื่อ ความรู้ ความคิด การลองผิดลองถูก และกลายเป็นการยอมรับในสังคม แต่ละชนชาติ ต่างมีวิวัฒนาการทางการแพทย์ของตนเอง กลายเป็นภูมิปัญญา ของชนชาตินั้นๆ หรือท้องถิ่นนั้นๆ (สืบค้นจาก http://pimolphun.bus.ubu.ac.th/midecine.doc) การแพทย์แผนไทยในปัจจุบันได้รับการส่งเสริมจากรัฐบาลให้เป็นการแพทย์ทางเลือกอย่างหนึ่งแก่ ผู้รับบริการ กิจกรรมการแพทย์แผนไทยได้แก่ การนวด อบ ประคบสมุนไพร การแปรรูปสมุนไพรมาเป็น ผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ การปลูกสมุนไพรเพื่อน ามาใช้เอง เป็นต้น โดยการนวดชนิดแต่ละแบบ มีประโยชน์ นั่นคือ สามารถบ าบัดอาการปวดเมื่อย ผ่อนคลายความเครียด ปวดหลัง ปวดเอว ปวดข้อ ปวดกล้ามเนื้อ ฯลฯ ลดการใช้ยาเองแผนปัจจุบัน อีกทั้งการอบสมุนไพรช่วยกระตุ้นระบบไหลเวียนให้ดีขึ้น บ าบัดโรคภูมิแพ้ ปวดเมื่อยต่างๆ ช่วยลดการอักเสบฟกช้ าของกล้ามเนื้อและข้อได้ นอกจากนี้ การแปรรูปสมุนไพรมาเป็น ผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ ช่วยให้ชุมชนน าสมุนไพรที่มีอยู่ มาใช้ให้เกิดประโยชน์ เช่น แชมพูสระผมจาก ดอกอัญชัน โลชั่นกันยุงจากตระไคร้หอม สบู่สมุนไพร การท าลูกประคบ เป็นต้น (โครงการส่งเสริมการแพทย์ แผนไทย ต าบลไพศาล, ๒๕๕๐) อีกทั้ง ยังมีกิจกรรมการออกก าลังกาย เพื่อกระตุ้นการไหลเวียนของโลหิต ช่วยสร้างเสริมระบบภูมิคุ้มกันและช่วยปูองกันโรคต่าง ๆ เช่น โรคหัวใจ, โรคระบบไหลเวียนโลหิต, เบาหวาน, และโรคอ้วน เป็นต้น นอกจากนี้การออกก าลังกายยังช่วยสร้างเสริมสุขภาพจิตและลดความเครียดได้ โดยการ ออกก าลังกายแบบแผนไทย นั่นคือ การใช้ท่าฤๅษีดัดตน เป็นที่นิยมในปัจจุบัน เพราะช่วยเสริมสร้างสมาธิใน การออกก าลังกายด้วย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบลคลองขุด (สาขา) อ าเภอเมือง จังหวัดสตูล รับผิดชอบ จ านวน ๓ หมู่บ้าน ๔,๒๗๔ หลังคาเรือน ประชากรรวม ๙,๕๙๙ คน (ข้อมูลทะเบียนราษฎร์ ณ ๓๐ มิย. ๕๘) ได้เล็งเห็น ความส าคัญ ในการลดการใช้ยาแผนปัจจุบันที่เสี่ยงต่อสารเคมีและสนับสนุนการใช้ยาสมุนไพร การใช้ภูมิ ปัญญาในการดูแลสุขภาพของประชาชนทุกกลุ่มวัยในเขตพื้นที่รับผิดชอบของสถานบริการ เพื่อเป็นการส่งเสริม การแพทย์แผนไทย อนุรักษ์ภูมิปัญญาพื้นบ้าน การน าภูมิปัญญาพื้นบ้านมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดอย่าง ปลอดภัย ทั้งทางด้านส่งเสริมสุขภาพ การรักษาพยาบาลและการฟื้นฟูสมรรถภาพของประชาชนผู้รับบริการ อย่างแท้จริง ดังนั้น จึงได้จัดท า โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ สืบสานภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยสู่วิถีชุมชน ปี ๒๕๖๐ ขึ้น เพื่อเป็นการสืบสานภูมิปัญญาที่มีอยู่ในท้องถิ่น ให้คงอยู่สืบต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อพัฒนาศักยภาพทีมสุขภาพ แกนน านักเรียนและแกนน าสตรีให้มีความรู้เรื่องการใช้ยา แพทย์แผนไทย หลังการอบรม ร้อยละ ๙
  2. 2.เพื่อให้ทีมสุขภาพ แกนน านักเรียน และแกนน าสตรี มีความรู้ด้านการออกก าลังกายโดยใช้ท่า ฤๅษีดัดตนหลังการอบรม โดยสามารถน ามาใช้ในชีวิตประจ าวันเพื่อการผ่อนคลาย เสริมสุขภาพ และบ าบัดโรค ได้ด้วยตนเอง ร้อยละ ๙๐

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 120
    กลุ่มวัยทำงาน 165
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ๑. ประชาชนในพื้นที่ต าบลคลองขุด (หมู่ที่ ๓, ๔ และ ๗) มีการใช้ยาแพทย์แผนปัจจุบันลดลง ในปี ๒๕๖๐ ๒. ได้คู่มือในการออกก าลังกายโดยการใช้ท่าฤๅษีดัดตน และเป็นต้นแบบแก่ผู้ที่สนใจต่อไป ๓. ทีมสุขภาพ แกนน านักเรียน และแกนน าสตรี มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้ยาสมุนไพร การท าผลิตภัณฑ์แปรรูปจากสมุนไพร ๔. ได้ผลิตภัณฑ์แปรรูปจากสมุนไพร และมีมุมแพทย์แผนไทยในรพ.สต. โรงเรียนและชุมชน


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการกลุ่มแกนนาสตรี

    วันที่ 6 กันยายน 2560 เวลา 08:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต มีกลุ่มเป้าหมายเข้ารับการอบรม 165 คน ผลลัพธ์ ประชาชนในพื้นที่ตาบลคลองขุด (หมู่ที่ ๓, ๔ และ ๗) มีการใช้ยาแพทย์แผนปัจจุบันลดลง เนื่องจากแกนนาสตรี มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้ยาสมุนไพร การทาผลิตภัณฑ์แปรรูปจากสมุนไพร และได้ผลิตภัณฑ์แปรรูปจากสมุนไพรมาใช้ในชุมชน

     

    165 165

    2. จัดอบรมให้ความรู้แก่ทีมสุขภาพ และแกนนานักเรียนโรงเรียนมัธยมศึกษา

    วันที่ 13 กันยายน 2560 เวลา 08:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต มีผู้เข้าร่วมโครงการเป็นนักเรียนโรงเรียนพัฒนาการศึกษามูลนิธิ จำนวน 120 คน ผลลัพธ์ แกนนานักเรียน มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้ยาสมุนไพร การทาผลิตภัณฑ์แปรรูปจากสมุนไพร และได้ผลิตภัณฑ์แปรรูปจากสมุนไพร และมีมุมแพทย์แผนไทยในโรงเรียน

     

    120 120

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    ประชาชนในพื้นที่ตาบลคลองขุด (หมู่ที่ ๓, ๔ และ ๗) มีการใช้ยาแพทย์แผนปัจจุบันลดลง ในปี ๒๕๖๐ และได้คู่มือในการออกกาลังกายโดยการใช้ท่าฤๅษีดัดตน และเป็นต้นแบบแก่ผู้ที่สนใจต่อไป ทีมสุขภาพ แกนนานักเรียน และแกนนาสตรี มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้ยาสมุนไพร การทาผลิตภัณฑ์แปรรูปจากสมุนไพร ได้ผลิตภัณฑ์แปรรูปจากสมุนไพร และมีมุมแพทย์แผนไทยในรพ.สต. โรงเรียนและชุมชน

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1.เพื่อพัฒนาศักยภาพทีมสุขภาพ แกนน านักเรียนและแกนน าสตรีให้มีความรู้เรื่องการใช้ยา แพทย์แผนไทย หลังการอบรม ร้อยละ ๙
    ตัวชี้วัด : แกนน านักเรียนและแกนน าสตรีให้มีความรู้เรื่องการใช้ยา แพทย์แผนไทย หลังการอบรม ร้อยละ ๙

     

    2 2.เพื่อให้ทีมสุขภาพ แกนน านักเรียน และแกนน าสตรี มีความรู้ด้านการออกก าลังกายโดยใช้ท่า ฤๅษีดัดตนหลังการอบรม โดยสามารถน ามาใช้ในชีวิตประจ าวันเพื่อการผ่อนคลาย เสริมสุขภาพ และบ าบัดโรค ได้ด้วยตนเอง ร้อยละ ๙๐
    ตัวชี้วัด : ทีมสุขภาพ แกนน านักเรียน และแกนน าสตรี มีความรู้ด้านการออกก าลังกายโดยใช้ท่า ฤๅษีดัดตนหลังการอบรม โดยสามารถน ามาใช้ในชีวิตประจ าวันเพื่อการผ่อนคลาย เสริมสุขภาพ และบ าบัดโรค ได้ด้วยตนเอง ร้อยละ ๙๐

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 285
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 120
    กลุ่มวัยทำงาน 165
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อพัฒนาศักยภาพทีมสุขภาพ แกนน านักเรียนและแกนน าสตรีให้มีความรู้เรื่องการใช้ยา แพทย์แผนไทย หลังการอบรม ร้อยละ ๙ (2) 2.เพื่อให้ทีมสุขภาพ แกนน านักเรียน และแกนน าสตรี มีความรู้ด้านการออกก าลังกายโดยใช้ท่า ฤๅษีดัดตนหลังการอบรม โดยสามารถน ามาใช้ในชีวิตประจ าวันเพื่อการผ่อนคลาย เสริมสุขภาพ และบ าบัดโรค ได้ด้วยตนเอง ร้อยละ ๙๐

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    อบรมเชิงปฏิบัติการ สืบสานภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยสู่วิถีชุมชน จังหวัด สตูล

    รหัสโครงการ 16/60

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวต่วนบีรนี ดาราหมานเศษ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด