กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการชาวท่าข้ามร่วมใจต้านภัยโรคหลอดเลือดสมอง โรคหัวใจ ”
ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง หมู่ที่ 5 ตำบลท่าข้าม



หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลปะเหลียน




ชื่อโครงการ โครงการชาวท่าข้ามร่วมใจต้านภัยโรคหลอดเลือดสมอง โรคหัวใจ

ที่อยู่ ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง หมู่ที่ 5 ตำบลท่าข้าม จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 60-L1480-1-03 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2560 ถึง 30 มิถุนายน 2560

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการชาวท่าข้ามร่วมใจต้านภัยโรคหลอดเลือดสมอง โรคหัวใจ จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง หมู่ที่ 5 ตำบลท่าข้าม

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าข้าม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการชาวท่าข้ามร่วมใจต้านภัยโรคหลอดเลือดสมอง โรคหัวใจ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการชาวท่าข้ามร่วมใจต้านภัยโรคหลอดเลือดสมอง โรคหัวใจ " ดำเนินการในพื้นที่ ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง หมู่ที่ 5 ตำบลท่าข้าม รหัสโครงการ 60-L1480-1-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2560 - 30 มิถุนายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,915.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าข้าม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคหลอดเลือดสมองตีบ (อัมพฤกษ์ อัมพาต) เป็นปัญหาสาธารณสุขสำคัญระดับประเทศ เป็นสาเหตุการป่วย พิการและเสียชีวิตอันดับต้นๆของโลกรวมถึงประเทศไทย ส่งผลให้เกิดภาระและการสูญเสียในทุกมิติทั้งกาย จิต สังคม เศรษฐกิจต่อทั้งผู้ป่วย ครอบครัว และประเทศชาติ โดยปัจจัยเสี่ยงหลักต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดในคนไทยที่สำคัญ ได้แก่ภาวะความดันโลหิตสูง ภาวะไขมันในเลือดสูง เบาหวาน การสูบบุหรี่ ภาวะอ้วน และการมีประวัติโรคหลอดเลือดสมองในครอบครัว การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในกลุ่มที่มีปัจจัยเสี่ยงหลัก โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้ที่มีโรคประจำตัวเบาหวานและความดันโลหิตสูงอย่างสม่ำเสมอ ช่วยให้เกิดการรับรู้ ตระหนัก ถึงอันตรายที่จะเกิดขึ้น เกิดแรงจูงใจ เกิดปฏิบัติการจัดการตนเองเพื่อลดความเสี่ยง

จากสถานการณ์อัตราป่วยต่อแสนประชากรของโรคหลอดเลือดสมอง ศูนย์สุขภาพชุมชนโรงพยาบาลปะเหลียนปี 2557 – 2559มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น212.97, 118.32 , 208.43 ตามลำดับดังนั้นการป้องกันและควบคุมโรคหลอดเลือดสมองหลอดเลือดหัวใจ การสร้างความรู้ความเข้าใจในเรื่องโรคหลอดเลือดสมองหลอดเลือดหัวใจและปรับทัศนคติ ค่านิยมของพฤติกรรมของประชาชนให้สอดคล้องกับการมีสุขภาพดีซึ่งเป็นหัวใจสำคัญหลักเพื่อนำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสู่พฤติกรรมสุขภาพซึ่งจะช่วยลดปัจจัยเสี่ยงของศูนย์สุขภาพชุมชนโรงพยาบาลปะเหลียน จึงจัดทำโครงการชาวท่าข้ามร่วมใจต้านภัยโรคหลอดเลือดสมอง ปีงบประมาณ ๒๕๖๐ ขึ้นเพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าว

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้อัตราการเกิดโรคหลอดเลือดสมองลดลง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 45
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    กลุ่มเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมองโรคสามารถจัดการและดูแลตนเองเพื่อลดปัจจัยเสี่ยง


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. ค่าป้ายไวนิล

    วันที่ 29 มีนาคม 2560 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ป้ายไวนิล 1 ผืน

     

    0 0

    2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม

    วันที่ 29 มีนาคม 2560 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    อาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 45 คน จำนวน 2 มื้อ

     

    45 45

    3. ค่าอาหารกลางวัน

    วันที่ 29 มีนาคม 2560 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    อาหารกลางวัน จำนวน 45 คน

     

    45 45

    4. ค่าวิทยากร

    วันที่ 29 มีนาคม 2560 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ค่าตอบแทนวิทยากร

     

    0 0

    5. ค่าแบบบันทึกสุขภาพ

    วันที่ 29 มีนาคม 2560 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    แบบบันทึกสุขภาพ จำนวน 40 เล่ม

     

    0 0

    6. ค่าสายวัดรอบเอว

    วันที่ 29 มีนาคม 2560 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สายวัดรอบเอว จำนวน 40 ตลับ

     

    0 0

    7. ค่าถ่ายเอกสารแบบสอบถามพฤติกรรม

    วันที่ 29 มีนาคม 2560 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เอกสารถ่ายแบบพฤติกรรม จำนวน 80 ชุด

     

    0 0

    8. แผ่นป้ายแม่เหล็กติดตู้เย็น

    วันที่ 29 มีนาคม 2560 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    แผ่นป้ายแม่เหล็กติดตู้เย็น จำนวน 40 ป้าย

     

    0 0

    9. ค่าป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์พร้อมติดตั้งโครงไม้

    วันที่ 29 มีนาคม 2560 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ป้ายไวนิลพร้อมติดตั้งโครงไม้ จำนวน 2 ป้าย

     

    0 0

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    จากการดำเนินงานตามโครงการ ผลดังนี้ 1. คัดกรอง CVD RISK ในกลุ่มผู้ป่วยเบาหวานความดันโลหิตสูง จำนวน 516 คน 2. เปรียบเทียบการแปรผลระดับโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดสมอง ก่อน - หลัง ดำเนินโครงการ

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้อัตราการเกิดโรคหลอดเลือดสมองลดลง
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 45
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 45
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้อัตราการเกิดโรคหลอดเลือดสมองลดลง

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการชาวท่าข้ามร่วมใจต้านภัยโรคหลอดเลือดสมอง โรคหัวใจ จังหวัด ตรัง

    รหัสโครงการ 60-L1480-1-03

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( โรงพยาบาลปะเหลียน )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด