โครงการสามนิ้ว สามสัมผัส ต้านภัยมะเร็งเต้านม ประจำปี 2560
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการสามนิ้ว สามสัมผัส ต้านภัยมะเร็งเต้านม ประจำปี 2560 ”
ห้องประชุมโรงพยาบาลปะเหลียน ต.ท่าข้าม อ.ปะเหลียน จ.ตรัง
หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลปะเหลียน
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าข้าม
มีนาคม 2560
ชื่อโครงการ โครงการสามนิ้ว สามสัมผัส ต้านภัยมะเร็งเต้านม ประจำปี 2560
ที่อยู่ ห้องประชุมโรงพยาบาลปะเหลียน ต.ท่าข้าม อ.ปะเหลียน จ.ตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 60-L1480-1-07 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2560 ถึง 31 มีนาคม 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการสามนิ้ว สามสัมผัส ต้านภัยมะเร็งเต้านม ประจำปี 2560 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ห้องประชุมโรงพยาบาลปะเหลียน ต.ท่าข้าม อ.ปะเหลียน จ.ตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าข้าม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการสามนิ้ว สามสัมผัส ต้านภัยมะเร็งเต้านม ประจำปี 2560
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการสามนิ้ว สามสัมผัส ต้านภัยมะเร็งเต้านม ประจำปี 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ห้องประชุมโรงพยาบาลปะเหลียน ต.ท่าข้าม อ.ปะเหลียน จ.ตรัง รหัสโครงการ 60-L1480-1-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2560 - 31 มีนาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 13,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าข้าม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากการรายงานของสถาบันมะเร็งแห่งชาติมะเร็งเต้านมเป็นสาเหตุการตายอันดับสองของสตรีจากมะเร็งปากมดลูกและมีแนวโน้มที่จะพบมะเร็งเต้านมมากเป็นอันดับหนึ่งของมะเร็งในสตรีไทย โดยประมาณปีละ ๔,๐๐๐ ราย อัตราการตายเป็นมะเร็งเต้านมมากขึ้นเรื่อยๆประมาณ ๑ ใน ๑๐ ของผู้หญิงมีโอกาสที่จะเป็นมะเร็งเต้านมในช่วงของชีวิต โรคมะเร็งเต้านมเป็นโรคที่สามารถรักษาให้หายขาดได้ ถ้าพบในระยะแรกของการป่วยและถ้าประชาชนสตรีได้รับความรู้ รู้จักวีการตรวจเต้านมด้วยตนเองและมีทักษะการตรวจเต้านมได้อย่างถูกต้อง มีพฤติกรรมการดูแลตนเอง ตรวจเต้านมตนเองทุกเดือน เพื่อค้นหาความผิดปกติของเต้านม ก็จะเป็นการลดความรุนแรงและอัตราการตายจากมะเร็งเต้านมลดลงได้
จากการดูแลสุขภาพของตนเองเบื้องต้นพบว่าสตรีอายุ ๓๐ - ๗๐ ปี ต้องมีความรู้และมีทักษะในเรื่องการตรวจเต้านมด้วยตนเอง เมื่อพบความผิดปกติของเต้านม ให้เข้ารับการตรวจวินิจฉัย ส่งต่อและรักษาอย่างทันท่วงที เพื่อให้ครอบคลุมกลุ่มประชากรทั้งหมด เพื่อให้สตรีในชุมชนมีความรู้ พฤติกรรมในการเฝ้าระวังสุขภาพตนเอง โดยอาศัยอุปกรณ์สื่อเต้านมจำลอง เพื่อใช้เป็นสื่อในการสอนการตรวจเต้านมให้เป็นสิ่งที่เข้าใจง่ายขึ้น สามารถนำเต้านมจำลองไปให้ความรู้แก่สตรีกลุ่มเป้าหมายได้อย่างครอบคลุมมากยิ่งขึ้น พร้อมทำให้สตรีกลุ่มเป้าหมายเกิดความมั่นใจในการตรวจเต้านมได้อย่างถูกต้อง ลดอัตราตายด้วยโรคมะเร็งเต้านม มีผลดีต่อภาวะสุขภาพและส่งผลดีต่อภาวะเศรษฐกิจสังคมของประเทศชาติได้
ดังนั้นศูนย์สุขภาพชุมชนโรงพยาบาลปะเหลียน จึงได้จัดทำโครงการสามนิ้ว สามสัมผัสต้านภัยมะเร็งเต้านมประจำปี ๒๕๖๐ ขึ้น เพื่อให้คลอบคลุมกลุ่มประชากร โดยเพื่อนหญิงด้วยกันดูแลกันเองในชุมชน สตรีกลุ่มเสี่ยงตรวจเต้านมด้วยตนเองถูกต้อง โดยการดูแลจากแกนนำพิทักษ์เต้านมและอสม. ให้ค้นพบมะเร็งเต้านมในระยะเริ่มแรกได้รับการรักษาทันท่วงทีและเสริมสร้างความตระหนักในการดูแลสุขภาพตนเองต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อสร้างแกนนำพิทักษ์เต้านมในชุมชน ค้นหามะเร็งเต้านมในระยะเริ่มแรก
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
50
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- สตรีแกนนำพิทักษ์เต้านมในชุมชนค้นหามะเร็งเต้านมในชุมชน
- สตรีในชุมชนสามารถตรวจเต้านมด้วยตนเองอย่างถูกต้องเพิ่มขึ้น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. ค่าป้ายไวนิล
วันที่ 20 มีนาคม 2560 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ป้ายไวนิลโครงการ 1 ผืน
0
50
2. ค่าจัดทำเอกสารการอบรม
วันที่ 20 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
เอกสารประกอบการอบรม
50
50
3. ค่าแผ่นพับ
วันที่ 20 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
แผ่นพับ
0
50
4. ค่าอาหารกลางวัน
วันที่ 27 มีนาคม 2560 เวลา 12:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผู้เข้ารับการอบรมได้รับประทานอาหารกลางวัน
50
50
5. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม
วันที่ 27 มีนาคม 2560 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผู้เข้ารับอบรมได้รับประทานอาหารว่างและเครื่องดื่ม
50
50
6. ค่าวิทยากร
วันที่ 27 มีนาคม 2560 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
สตรีแกนนำพิทักษ์เต้านมได้รับความรุ้เรื่องโรคมะเร็งเต้านมและการตรวจเต้านมอย่างถูกต้อง
0
50
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
จัดประชุมเชิงปฏิบัติการแกนนำพิทักษ์เต้านมเรื่่องโรคมะเร็งเต้านม สถานการณ์ของโรคปัจจัยเสี่ยงของโรค การป้องกันโรค และการตรวจเต้านมอย่างถูกต้อง ในวันที่ 27 มีนาคม 2560 จัดอบรมห้องประชุมโรงพยาบาลปะเหลียน กลุ่มเป้าหมายจำนวน 50 คน
แกนนำพิทักษ์เต้านมได้รับความรู้เรื่องโรคมะเร็งเต้านมและวิธีการตรวจเต้านมด้วยตนเองอย่างถูกต้อง ได้รับการฝึกทักษะการตรวจเต้านมอย่างถูกต้อง สร้างแกนนำพิทักษ์เต้านมให้สามารถตรวจเต้านมด้วยตนเองอย่างถูกต้องและสามารถลงไปประชาสัมพันธ์เรื่องการตรวจเต้านมด้วยตนเองเพิ่มขึ้นในชุมชนเพื่อให้สตรีในชุมชนสามารถตรวจเต้านมด้วยตนเองอย่างถูกต้อง และเพื่อค้นพบความผิดปกติของเต้านม
- สตรีแกนนำพิทักษ์เต้านมได้รับความรู้เรื่องโรคมะเร็งเต้านมและการตรวจเต้านมอย่างถูกต้องเพิ่มขึ้น
- สตรีแกนนำพิทักษ์เต้านมได้ฝึกทักษะการตรวจเต้านมอย่างถูกต้องเพิ่มขึ้น
- สตรีแกนนำพิทักษ์เต้านมลงประชาสัมพันธ์เรื่องการตรวจเต้านมอย่างถูกต้องแก่สตรีอายุ 30 - 70 ปี ในชุมชน
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อสร้างแกนนำพิทักษ์เต้านมในชุมชน ค้นหามะเร็งเต้านมในระยะเริ่มแรก
ตัวชี้วัด :
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
50
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
50
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างแกนนำพิทักษ์เต้านมในชุมชน ค้นหามะเร็งเต้านมในระยะเริ่มแรก
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการสามนิ้ว สามสัมผัส ต้านภัยมะเร็งเต้านม ประจำปี 2560 จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 60-L1480-1-07
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( โรงพยาบาลปะเหลียน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการสามนิ้ว สามสัมผัส ต้านภัยมะเร็งเต้านม ประจำปี 2560 ”
ห้องประชุมโรงพยาบาลปะเหลียน ต.ท่าข้าม อ.ปะเหลียน จ.ตรัง
หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลปะเหลียน
มีนาคม 2560
ที่อยู่ ห้องประชุมโรงพยาบาลปะเหลียน ต.ท่าข้าม อ.ปะเหลียน จ.ตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 60-L1480-1-07 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2560 ถึง 31 มีนาคม 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการสามนิ้ว สามสัมผัส ต้านภัยมะเร็งเต้านม ประจำปี 2560 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ห้องประชุมโรงพยาบาลปะเหลียน ต.ท่าข้าม อ.ปะเหลียน จ.ตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าข้าม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการสามนิ้ว สามสัมผัส ต้านภัยมะเร็งเต้านม ประจำปี 2560
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการสามนิ้ว สามสัมผัส ต้านภัยมะเร็งเต้านม ประจำปี 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ห้องประชุมโรงพยาบาลปะเหลียน ต.ท่าข้าม อ.ปะเหลียน จ.ตรัง รหัสโครงการ 60-L1480-1-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2560 - 31 มีนาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 13,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าข้าม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากการรายงานของสถาบันมะเร็งแห่งชาติมะเร็งเต้านมเป็นสาเหตุการตายอันดับสองของสตรีจากมะเร็งปากมดลูกและมีแนวโน้มที่จะพบมะเร็งเต้านมมากเป็นอันดับหนึ่งของมะเร็งในสตรีไทย โดยประมาณปีละ ๔,๐๐๐ ราย อัตราการตายเป็นมะเร็งเต้านมมากขึ้นเรื่อยๆประมาณ ๑ ใน ๑๐ ของผู้หญิงมีโอกาสที่จะเป็นมะเร็งเต้านมในช่วงของชีวิต โรคมะเร็งเต้านมเป็นโรคที่สามารถรักษาให้หายขาดได้ ถ้าพบในระยะแรกของการป่วยและถ้าประชาชนสตรีได้รับความรู้ รู้จักวีการตรวจเต้านมด้วยตนเองและมีทักษะการตรวจเต้านมได้อย่างถูกต้อง มีพฤติกรรมการดูแลตนเอง ตรวจเต้านมตนเองทุกเดือน เพื่อค้นหาความผิดปกติของเต้านม ก็จะเป็นการลดความรุนแรงและอัตราการตายจากมะเร็งเต้านมลดลงได้
จากการดูแลสุขภาพของตนเองเบื้องต้นพบว่าสตรีอายุ ๓๐ - ๗๐ ปี ต้องมีความรู้และมีทักษะในเรื่องการตรวจเต้านมด้วยตนเอง เมื่อพบความผิดปกติของเต้านม ให้เข้ารับการตรวจวินิจฉัย ส่งต่อและรักษาอย่างทันท่วงที เพื่อให้ครอบคลุมกลุ่มประชากรทั้งหมด เพื่อให้สตรีในชุมชนมีความรู้ พฤติกรรมในการเฝ้าระวังสุขภาพตนเอง โดยอาศัยอุปกรณ์สื่อเต้านมจำลอง เพื่อใช้เป็นสื่อในการสอนการตรวจเต้านมให้เป็นสิ่งที่เข้าใจง่ายขึ้น สามารถนำเต้านมจำลองไปให้ความรู้แก่สตรีกลุ่มเป้าหมายได้อย่างครอบคลุมมากยิ่งขึ้น พร้อมทำให้สตรีกลุ่มเป้าหมายเกิดความมั่นใจในการตรวจเต้านมได้อย่างถูกต้อง ลดอัตราตายด้วยโรคมะเร็งเต้านม มีผลดีต่อภาวะสุขภาพและส่งผลดีต่อภาวะเศรษฐกิจสังคมของประเทศชาติได้
ดังนั้นศูนย์สุขภาพชุมชนโรงพยาบาลปะเหลียน จึงได้จัดทำโครงการสามนิ้ว สามสัมผัสต้านภัยมะเร็งเต้านมประจำปี ๒๕๖๐ ขึ้น เพื่อให้คลอบคลุมกลุ่มประชากร โดยเพื่อนหญิงด้วยกันดูแลกันเองในชุมชน สตรีกลุ่มเสี่ยงตรวจเต้านมด้วยตนเองถูกต้อง โดยการดูแลจากแกนนำพิทักษ์เต้านมและอสม. ให้ค้นพบมะเร็งเต้านมในระยะเริ่มแรกได้รับการรักษาทันท่วงทีและเสริมสร้างความตระหนักในการดูแลสุขภาพตนเองต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อสร้างแกนนำพิทักษ์เต้านมในชุมชน ค้นหามะเร็งเต้านมในระยะเริ่มแรก
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 50 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- สตรีแกนนำพิทักษ์เต้านมในชุมชนค้นหามะเร็งเต้านมในชุมชน
- สตรีในชุมชนสามารถตรวจเต้านมด้วยตนเองอย่างถูกต้องเพิ่มขึ้น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ค่าป้ายไวนิล |
||
วันที่ 20 มีนาคม 2560 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นป้ายไวนิลโครงการ 1 ผืน
|
0 | 50 |
2. ค่าจัดทำเอกสารการอบรม |
||
วันที่ 20 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นเอกสารประกอบการอบรม
|
50 | 50 |
3. ค่าแผ่นพับ |
||
วันที่ 20 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นแผ่นพับ
|
0 | 50 |
4. ค่าอาหารกลางวัน |
||
วันที่ 27 มีนาคม 2560 เวลา 12:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผู้เข้ารับการอบรมได้รับประทานอาหารกลางวัน
|
50 | 50 |
5. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม |
||
วันที่ 27 มีนาคม 2560 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผู้เข้ารับอบรมได้รับประทานอาหารว่างและเครื่องดื่ม
|
50 | 50 |
6. ค่าวิทยากร |
||
วันที่ 27 มีนาคม 2560 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นสตรีแกนนำพิทักษ์เต้านมได้รับความรุ้เรื่องโรคมะเร็งเต้านมและการตรวจเต้านมอย่างถูกต้อง
|
0 | 50 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
จัดประชุมเชิงปฏิบัติการแกนนำพิทักษ์เต้านมเรื่่องโรคมะเร็งเต้านม สถานการณ์ของโรคปัจจัยเสี่ยงของโรค การป้องกันโรค และการตรวจเต้านมอย่างถูกต้อง ในวันที่ 27 มีนาคม 2560 จัดอบรมห้องประชุมโรงพยาบาลปะเหลียน กลุ่มเป้าหมายจำนวน 50 คน
แกนนำพิทักษ์เต้านมได้รับความรู้เรื่องโรคมะเร็งเต้านมและวิธีการตรวจเต้านมด้วยตนเองอย่างถูกต้อง ได้รับการฝึกทักษะการตรวจเต้านมอย่างถูกต้อง สร้างแกนนำพิทักษ์เต้านมให้สามารถตรวจเต้านมด้วยตนเองอย่างถูกต้องและสามารถลงไปประชาสัมพันธ์เรื่องการตรวจเต้านมด้วยตนเองเพิ่มขึ้นในชุมชนเพื่อให้สตรีในชุมชนสามารถตรวจเต้านมด้วยตนเองอย่างถูกต้อง และเพื่อค้นพบความผิดปกติของเต้านม
- สตรีแกนนำพิทักษ์เต้านมได้รับความรู้เรื่องโรคมะเร็งเต้านมและการตรวจเต้านมอย่างถูกต้องเพิ่มขึ้น
- สตรีแกนนำพิทักษ์เต้านมได้ฝึกทักษะการตรวจเต้านมอย่างถูกต้องเพิ่มขึ้น
- สตรีแกนนำพิทักษ์เต้านมลงประชาสัมพันธ์เรื่องการตรวจเต้านมอย่างถูกต้องแก่สตรีอายุ 30 - 70 ปี ในชุมชน
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อสร้างแกนนำพิทักษ์เต้านมในชุมชน ค้นหามะเร็งเต้านมในระยะเริ่มแรก ตัวชี้วัด : |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 50 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 50 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างแกนนำพิทักษ์เต้านมในชุมชน ค้นหามะเร็งเต้านมในระยะเริ่มแรก
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการสามนิ้ว สามสัมผัส ต้านภัยมะเร็งเต้านม ประจำปี 2560 จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 60-L1480-1-07
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( โรงพยาบาลปะเหลียน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......