โครงการส่งเสริมการจัดกาารขยะอย่างถูกสุขลักษณะโดยชุมชน
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมการจัดกาารขยะอย่างถูกสุขลักษณะโดยชุมชน ”
กลุ่มธนาคารขยะ หมู่ที่ 4 บ้านทุ่งรวงทอง ต.ท่าข้าม อ.ปะเหลียน จ.ตรัง
หัวหน้าโครงการ
กลุ่มธนาคารขยะ หมู่ที่ 4 บ้านทุ่งรวงทอง
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าข้าม
มีนาคม 2560
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมการจัดกาารขยะอย่างถูกสุขลักษณะโดยชุมชน
ที่อยู่ กลุ่มธนาคารขยะ หมู่ที่ 4 บ้านทุ่งรวงทอง ต.ท่าข้าม อ.ปะเหลียน จ.ตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 60-L1480-2-09 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 มีนาคม 2560 ถึง 3 มีนาคม 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมการจัดกาารขยะอย่างถูกสุขลักษณะโดยชุมชน จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน กลุ่มธนาคารขยะ หมู่ที่ 4 บ้านทุ่งรวงทอง ต.ท่าข้าม อ.ปะเหลียน จ.ตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าข้าม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมการจัดกาารขยะอย่างถูกสุขลักษณะโดยชุมชน
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมการจัดกาารขยะอย่างถูกสุขลักษณะโดยชุมชน " ดำเนินการในพื้นที่ กลุ่มธนาคารขยะ หมู่ที่ 4 บ้านทุ่งรวงทอง ต.ท่าข้าม อ.ปะเหลียน จ.ตรัง รหัสโครงการ 60-L1480-2-09 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 มีนาคม 2560 - 3 มีนาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,380.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าข้าม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันปัญหาเรื่องขยะนับว่าเป็นปัญหาสำคัญในทุกระดับทั้งระดับชุมชน/หมู่บ้านระดับองค์กรและในระดับประเทศชุมชนบ้านทุ่งรวงทองเป็นชุมชนหนึ่งในเขตพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลท่าข้ามที่มีปริมาณขยะจำนวนมากซึ่งมาจากการดำรงชีวิตของคนในชุมชนปริมาณขยะที่เกิดขึ้นมากมายทุกวันส่งผลให้มีขยะตกค้างเป็นจำนวนมากในแต่ละวัน ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสภาพความเป็นอยู่ในชุมชนได้แก่ชุมชนสกปรกไม่น่ามองเสียทัศนียภาพส่งกลิ่นเหม็นรบกวนเป็นแหล่งเพาะพันธุ์สัตว์และพานะนำโรคต่าง ๆ เช่นหนูแมลงสาบแมลงวันทั้งยังเป็นแหล่งแพร่เชื้อโรคโดยตรงเช่นอหิวาตกโรคอุจจาระร่วงบิดโรคผิวหนังบาดทะยักโรคทางเดินหายใจเกิดการปนเปื้อนของสารพิษเช่นตะกั่วปรอทลงสู่พื้นดินและแหล่งน้ำแหล่งน้ำเสียท่อระบายน้ำอุดตันอันเป็นสาเหตุของน้ำท่วมเป็นแหล่งกำเนิดมลพิษทางอากาศเช่นฝุ่นละอองเขม่าควันจากการเผาขยะ และเกิดก๊าซมีเทนจากการฝังกลบขยะและขยะบางชนิดไม่ย่อยสลายและกำจัดได้ยากเช่นโฟมพลาสติกทำให้ตกค้างสู่สิ่งแวดล้อมที่ไม่ปลอดภัยต่อสุขภาพอนามัยของประชาชน
ดังนั้นกลุ่มธนาคารขยะหมู่ที่ 4 บ้านทุ่งรวงทองได้เล็งเห็นความสำคัญในการจัดการขยะอย่างถูกสุขลักษณะและถูกวิธี ซึ่งกลวิธีสำคัญวิธีหนึ่งในการสร้างเสริมและป้องกันสุขภาพและปัจจัยที่จะก่อให้เกิดความสำเร็จในการจัดการขยะอย่างถูกสุขลักษณะและถูกวิธีและต่อเนื่องคือความพร้อมใจกันมีส่วนร่วมในการจัดการขยะ ความตระหนักและเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมใหม่ในการคัดแยกขยะก่อนทิ้งไม่ว่าจะเป็นขยะมูลฝอยธรรมดาทั่วไปหรือขยะอันตรายและเล็งเห็นคุณค่าของขยะรีไซเคิลกลับมาใช้ใหม่อย่างมีคุณค่า ซึ่งยังเป็นการลดปริมาณขยะที่นำไปกำจัดโดยการเผาและฝังกลบได้ทำให้ช่วยลดสภาวะเรือนกระจกกลุ่มธนาคารขยะหมู่ที่ ๔บ้านทุ่งรวงทองจึงได้นำเสนอโครงการส่งเสริมการจัดการขยะอย่างถูกสุขลักษณะโดยชุมชนเพื่อลดปริมาณขยะในชุมชนนำไปสู่ชุมชนที่มีสภาพแวดล้อมที่น่าอยู่ปลอดภัยต่อสุขภาพโดยกระบวนการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนอย่างแท้จริง
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความตระหนักและเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการจัดการขยะที่ถูกต้อง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ทำให้เกิดการมีส่วนร่วมในการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมในชุมชนอย่างถูกสุขลักษณะ
- ทำให้ประชาชนมีความรู้ ความตระหนักและเกิดปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการจัดการขยะที่ถูกต้อง
- สามารถลดปริมาณขยะในชุมชนนำไปสู่ชุมชนที่มีสภาพแวดล้อมที่น่าอยู่
- สามารถลดแหล่งเพาะพันธ์ของแมลง/สัตว์ ที่เป็นพาหะนำโรค
- สามารถแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมซึ่งเป็นผลมาจากขยะมีพิษและสิ่งปฏิกูลต่างๆ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. ค่าวิทยากร
วันที่ 3 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
คนในชุมชนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ถูกต้อง และเหมาะสมในการทิ้งขยะและคัดแยกขยะ ทำให้คนในชุมชนมีสุขภาวะที่ดีขึ้น และยังลดปริมาณขยะในชุมชน นำไปสู่สิ่งแวดล้อมที่น่าอยู่น่ามอง ไม่มีแหล่งเพาะพันธุ์สัตว์และแมลงที่เป็นพาหะนำโรค ทำให้สุขภาพอนามัยและสิ่งแวดล้อมของคนในชุมชนดีขึ้น
0
100
2. ค่าอาหารกลางวัน
วันที่ 3 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผู้เข้าอบรมได้รับประทานอาหารกลางวัน จำนวน 100 คน
100
100
3. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม
วันที่ 3 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผู้เข้ารับการอบรมได้รับประทานอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 100 คน
100
100
4. ค่าป้ายไวนิล
วันที่ 3 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ป้ายไวนิลโครงการ จำนวน 1 ผืน
0
100
5. ค่าป้ายไวนิลพร้อมติดตั้งโครงไม้
วันที่ 3 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ป้ายไวนิล พร้อมติดตั้งด้วยโครงไม้ จำนวน 2 ชุด
0
100
6. ค่าวัสดุอุปกรณ์
วันที่ 3 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
วัสดุอุปกรณ์ในการฝึกอบรม
0
100
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
คนในชุมชนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ถูกต้องและเหมาะสมในการทิ้งขยะและคัดแยกขยะ ทำให้คนในชุมชนมีสุขภาวะที่ดีขึ้น และยังลดปริมาณขยะในชุมชนนำไปสู่สิ่งแวดล้อมที่น่าอยู่น่ามอง ไม่มีแหล่งเพาะพันธุ์สัตว์และแมลงที่เป็นพาหะนำโรค ทำให้สุขภาพอนามัยและสิ่งแวดล้อมของคนในชุมชนดีขึ้น
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความตระหนักและเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการจัดการขยะที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด :
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
100
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความตระหนักและเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการจัดการขยะที่ถูกต้อง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริมการจัดกาารขยะอย่างถูกสุขลักษณะโดยชุมชน จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 60-L1480-2-09
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( กลุ่มธนาคารขยะ หมู่ที่ 4 บ้านทุ่งรวงทอง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมการจัดกาารขยะอย่างถูกสุขลักษณะโดยชุมชน ”
กลุ่มธนาคารขยะ หมู่ที่ 4 บ้านทุ่งรวงทอง ต.ท่าข้าม อ.ปะเหลียน จ.ตรัง
หัวหน้าโครงการ
กลุ่มธนาคารขยะ หมู่ที่ 4 บ้านทุ่งรวงทอง
มีนาคม 2560
ที่อยู่ กลุ่มธนาคารขยะ หมู่ที่ 4 บ้านทุ่งรวงทอง ต.ท่าข้าม อ.ปะเหลียน จ.ตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 60-L1480-2-09 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 มีนาคม 2560 ถึง 3 มีนาคม 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมการจัดกาารขยะอย่างถูกสุขลักษณะโดยชุมชน จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน กลุ่มธนาคารขยะ หมู่ที่ 4 บ้านทุ่งรวงทอง ต.ท่าข้าม อ.ปะเหลียน จ.ตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าข้าม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมการจัดกาารขยะอย่างถูกสุขลักษณะโดยชุมชน
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมการจัดกาารขยะอย่างถูกสุขลักษณะโดยชุมชน " ดำเนินการในพื้นที่ กลุ่มธนาคารขยะ หมู่ที่ 4 บ้านทุ่งรวงทอง ต.ท่าข้าม อ.ปะเหลียน จ.ตรัง รหัสโครงการ 60-L1480-2-09 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 มีนาคม 2560 - 3 มีนาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,380.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าข้าม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันปัญหาเรื่องขยะนับว่าเป็นปัญหาสำคัญในทุกระดับทั้งระดับชุมชน/หมู่บ้านระดับองค์กรและในระดับประเทศชุมชนบ้านทุ่งรวงทองเป็นชุมชนหนึ่งในเขตพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลท่าข้ามที่มีปริมาณขยะจำนวนมากซึ่งมาจากการดำรงชีวิตของคนในชุมชนปริมาณขยะที่เกิดขึ้นมากมายทุกวันส่งผลให้มีขยะตกค้างเป็นจำนวนมากในแต่ละวัน ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสภาพความเป็นอยู่ในชุมชนได้แก่ชุมชนสกปรกไม่น่ามองเสียทัศนียภาพส่งกลิ่นเหม็นรบกวนเป็นแหล่งเพาะพันธุ์สัตว์และพานะนำโรคต่าง ๆ เช่นหนูแมลงสาบแมลงวันทั้งยังเป็นแหล่งแพร่เชื้อโรคโดยตรงเช่นอหิวาตกโรคอุจจาระร่วงบิดโรคผิวหนังบาดทะยักโรคทางเดินหายใจเกิดการปนเปื้อนของสารพิษเช่นตะกั่วปรอทลงสู่พื้นดินและแหล่งน้ำแหล่งน้ำเสียท่อระบายน้ำอุดตันอันเป็นสาเหตุของน้ำท่วมเป็นแหล่งกำเนิดมลพิษทางอากาศเช่นฝุ่นละอองเขม่าควันจากการเผาขยะ และเกิดก๊าซมีเทนจากการฝังกลบขยะและขยะบางชนิดไม่ย่อยสลายและกำจัดได้ยากเช่นโฟมพลาสติกทำให้ตกค้างสู่สิ่งแวดล้อมที่ไม่ปลอดภัยต่อสุขภาพอนามัยของประชาชน
ดังนั้นกลุ่มธนาคารขยะหมู่ที่ 4 บ้านทุ่งรวงทองได้เล็งเห็นความสำคัญในการจัดการขยะอย่างถูกสุขลักษณะและถูกวิธี ซึ่งกลวิธีสำคัญวิธีหนึ่งในการสร้างเสริมและป้องกันสุขภาพและปัจจัยที่จะก่อให้เกิดความสำเร็จในการจัดการขยะอย่างถูกสุขลักษณะและถูกวิธีและต่อเนื่องคือความพร้อมใจกันมีส่วนร่วมในการจัดการขยะ ความตระหนักและเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมใหม่ในการคัดแยกขยะก่อนทิ้งไม่ว่าจะเป็นขยะมูลฝอยธรรมดาทั่วไปหรือขยะอันตรายและเล็งเห็นคุณค่าของขยะรีไซเคิลกลับมาใช้ใหม่อย่างมีคุณค่า ซึ่งยังเป็นการลดปริมาณขยะที่นำไปกำจัดโดยการเผาและฝังกลบได้ทำให้ช่วยลดสภาวะเรือนกระจกกลุ่มธนาคารขยะหมู่ที่ ๔บ้านทุ่งรวงทองจึงได้นำเสนอโครงการส่งเสริมการจัดการขยะอย่างถูกสุขลักษณะโดยชุมชนเพื่อลดปริมาณขยะในชุมชนนำไปสู่ชุมชนที่มีสภาพแวดล้อมที่น่าอยู่ปลอดภัยต่อสุขภาพโดยกระบวนการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนอย่างแท้จริง
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความตระหนักและเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการจัดการขยะที่ถูกต้อง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 100 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ทำให้เกิดการมีส่วนร่วมในการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมในชุมชนอย่างถูกสุขลักษณะ
- ทำให้ประชาชนมีความรู้ ความตระหนักและเกิดปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการจัดการขยะที่ถูกต้อง
- สามารถลดปริมาณขยะในชุมชนนำไปสู่ชุมชนที่มีสภาพแวดล้อมที่น่าอยู่
- สามารถลดแหล่งเพาะพันธ์ของแมลง/สัตว์ ที่เป็นพาหะนำโรค
- สามารถแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมซึ่งเป็นผลมาจากขยะมีพิษและสิ่งปฏิกูลต่างๆ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ค่าวิทยากร |
||
วันที่ 3 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นคนในชุมชนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ถูกต้อง และเหมาะสมในการทิ้งขยะและคัดแยกขยะ ทำให้คนในชุมชนมีสุขภาวะที่ดีขึ้น และยังลดปริมาณขยะในชุมชน นำไปสู่สิ่งแวดล้อมที่น่าอยู่น่ามอง ไม่มีแหล่งเพาะพันธุ์สัตว์และแมลงที่เป็นพาหะนำโรค ทำให้สุขภาพอนามัยและสิ่งแวดล้อมของคนในชุมชนดีขึ้น
|
0 | 100 |
2. ค่าอาหารกลางวัน |
||
วันที่ 3 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผู้เข้าอบรมได้รับประทานอาหารกลางวัน จำนวน 100 คน
|
100 | 100 |
3. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม |
||
วันที่ 3 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผู้เข้ารับการอบรมได้รับประทานอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 100 คน
|
100 | 100 |
4. ค่าป้ายไวนิล |
||
วันที่ 3 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นป้ายไวนิลโครงการ จำนวน 1 ผืน
|
0 | 100 |
5. ค่าป้ายไวนิลพร้อมติดตั้งโครงไม้ |
||
วันที่ 3 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นป้ายไวนิล พร้อมติดตั้งด้วยโครงไม้ จำนวน 2 ชุด
|
0 | 100 |
6. ค่าวัสดุอุปกรณ์ |
||
วันที่ 3 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นวัสดุอุปกรณ์ในการฝึกอบรม
|
0 | 100 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
คนในชุมชนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ถูกต้องและเหมาะสมในการทิ้งขยะและคัดแยกขยะ ทำให้คนในชุมชนมีสุขภาวะที่ดีขึ้น และยังลดปริมาณขยะในชุมชนนำไปสู่สิ่งแวดล้อมที่น่าอยู่น่ามอง ไม่มีแหล่งเพาะพันธุ์สัตว์และแมลงที่เป็นพาหะนำโรค ทำให้สุขภาพอนามัยและสิ่งแวดล้อมของคนในชุมชนดีขึ้น
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความตระหนักและเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการจัดการขยะที่ถูกต้อง ตัวชี้วัด : |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 100 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 100 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความตระหนักและเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการจัดการขยะที่ถูกต้อง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริมการจัดกาารขยะอย่างถูกสุขลักษณะโดยชุมชน จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 60-L1480-2-09
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( กลุ่มธนาคารขยะ หมู่ที่ 4 บ้านทุ่งรวงทอง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......