โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ ในโรงเรียนผู้สูงอายุโรงพยาบาลปะเหลียน ปี 2560
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ ในโรงเรียนผู้สูงอายุโรงพยาบาลปะเหลียน ปี 2560 ”
ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง หมู่ที่ 5 ต.ท่าข้าม อ.ปะเหลียน จ.ตรัง
หัวหน้าโครงการ
นางสุจินต์ ณ พัทลุง
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าข้าม
มีนาคม 2560
ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ ในโรงเรียนผู้สูงอายุโรงพยาบาลปะเหลียน ปี 2560
ที่อยู่ ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง หมู่ที่ 5 ต.ท่าข้าม อ.ปะเหลียน จ.ตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 60-L1480-2-11 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 8 กุมภาพันธ์ 2560 ถึง 31 มีนาคม 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ ในโรงเรียนผู้สูงอายุโรงพยาบาลปะเหลียน ปี 2560 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง หมู่ที่ 5 ต.ท่าข้าม อ.ปะเหลียน จ.ตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าข้าม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ ในโรงเรียนผู้สูงอายุโรงพยาบาลปะเหลียน ปี 2560
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ ในโรงเรียนผู้สูงอายุโรงพยาบาลปะเหลียน ปี 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง หมู่ที่ 5 ต.ท่าข้าม อ.ปะเหลียน จ.ตรัง รหัสโครงการ 60-L1480-2-11 ระยะเวลาการดำเนินงาน 8 กุมภาพันธ์ 2560 - 31 มีนาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 18,550.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าข้าม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สังคมไทยได้เริ่มเดินทางเข้าสู่สภาพ “สังคมผู้สูงอายุ” มาตั้งแต่ปี 2552 แล้ว อันเนื่องมาจากสัดส่วนประชากรผู้สูงอายุที่เพิ่มขึ้นและอายุขัยเฉลี่ยของผู้สูงอายุเพิ่มมากขึ้น ในผู้หญิง 74.5 ปีและในผู้ชาย 69.9 ปี แต่ในความเป็นจริง คือคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุส่วนใหญ่กลับสวนทางกับอายุขัยเฉลี่ยดังกล่าว นอกจากสถานการณ์ด้านการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรแล้วนั้น ขณะเดียวกัน ประเทศไทยก็กำลังประสบกับภาวะเจริญพันธุ์ที่ต่ำลง หรือที่เรียกว่าภาวการณ์มีบุตรน้อย จากการสำรวจเมื่อปี 2554 พบว่า ประชากรที่มีอายุ 80 ปี จะมีอัตราการมีบุตรเฉลี่ยคนละ 4.6 คน ส่วนประชากรอายุระหว่าง 50-54 ปี มีบุตรเฉลี่ยเพียงคนละ 2.1 คน เท่านั้น เมื่อเปรียบเทียบสัดส่วนจะเห็นว่า แนวโน้มการมีบุตรลดลงค่อนข้างมาก ประกอบกับค่าเฉลี่ยอายุในปัจจุบันที่สูงขึ้น ในระยะยาวสังคมไทยจึงอาจประสบปัญหาคุณภาพชีวิต และการเป็นอยู่ชีวิตของผู้สูงอายุ เนื่องจากผู้สูงอายุจำนวนหนึ่งอาจไม่มีบุตรหลานคอยดูแล.
ดังนั้น โรงเรียนผู้สูงอายุ จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ ในโรงเรียนผู้สูงอายุ โรงพยาบาลปะเหลียน ปี2560 ขึ้น โดยมีการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ ในโรงเรียนผู้สูงอายุ กลุ่มติดสังคมมารวมกลุ่มเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ และมีกิจกรรมดูแลผู้สูงอายุกลุ่มติดบ้าน กลุ่มติดเตียง โดยมีคณะกรรมการและคณะทำงานพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ ทักษะในการดูแลสุขภาพลดภาวะผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
100
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพอนามัยของตนเอง ทั้งด้านโภชนาการ การฟื้นฟูสมรรถภาพร่างกายและจิตใจ ลดภาวะผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียง
เกิดเครือข่ายการดูแลผู้สูงอายุในชุมชน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. ค่าอาหารกลางวัน
วันที่ 30 มีนาคม 2560 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับประทานอาหารกลางวัน
100
100
2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม
วันที่ 30 มีนาคม 2560 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับประทานอาหารว่างและเครื่องดื่ม
100
100
3. ค่าป้ายไวนิล
วันที่ 30 มีนาคม 2560 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ป้ายไวนิลโครงการ 1 ผืน
0
100
4. ค่าเอกสารประกอบการอบรม
วันที่ 30 มีนาคม 2560 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
เอกสารประกอบการฝึกอบรม 100 ชุด
0
100
5. ค่าวิทยากร
วันที่ 30 มีนาคม 2560 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ค่าวิทยากรบรรยาย
0
100
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
- ประชุมคณะทำงานและจัดเตรียมโครงการ จำนวน 1 ครั้ง
- มีการประเมินผลการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 95
- สมาชิกโรงเรียนผู้สูงอายุมีความรู้ ร้อยละ 90
- สมาชิกชมรมผู้สูงอายุที่มีภาวะเสี่ยงและเป็นโรคเรื้อรัง สามารถดูแลสุขภาพตนเองได้โดยมีภาวะแทรกซ้อนลดลง
- เกิดจิตอาสาดูแลผู้สูงอายุในชุมชน
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ ทักษะในการดูแลสุขภาพลดภาวะผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียง
ตัวชี้วัด :
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
100
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
100
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ ทักษะในการดูแลสุขภาพลดภาวะผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ ในโรงเรียนผู้สูงอายุโรงพยาบาลปะเหลียน ปี 2560 จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 60-L1480-2-11
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสุจินต์ ณ พัทลุง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ ในโรงเรียนผู้สูงอายุโรงพยาบาลปะเหลียน ปี 2560 ”
ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง หมู่ที่ 5 ต.ท่าข้าม อ.ปะเหลียน จ.ตรัง
หัวหน้าโครงการ
นางสุจินต์ ณ พัทลุง
มีนาคม 2560
ที่อยู่ ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง หมู่ที่ 5 ต.ท่าข้าม อ.ปะเหลียน จ.ตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 60-L1480-2-11 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 8 กุมภาพันธ์ 2560 ถึง 31 มีนาคม 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ ในโรงเรียนผู้สูงอายุโรงพยาบาลปะเหลียน ปี 2560 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง หมู่ที่ 5 ต.ท่าข้าม อ.ปะเหลียน จ.ตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าข้าม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ ในโรงเรียนผู้สูงอายุโรงพยาบาลปะเหลียน ปี 2560
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ ในโรงเรียนผู้สูงอายุโรงพยาบาลปะเหลียน ปี 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง หมู่ที่ 5 ต.ท่าข้าม อ.ปะเหลียน จ.ตรัง รหัสโครงการ 60-L1480-2-11 ระยะเวลาการดำเนินงาน 8 กุมภาพันธ์ 2560 - 31 มีนาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 18,550.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าข้าม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สังคมไทยได้เริ่มเดินทางเข้าสู่สภาพ “สังคมผู้สูงอายุ” มาตั้งแต่ปี 2552 แล้ว อันเนื่องมาจากสัดส่วนประชากรผู้สูงอายุที่เพิ่มขึ้นและอายุขัยเฉลี่ยของผู้สูงอายุเพิ่มมากขึ้น ในผู้หญิง 74.5 ปีและในผู้ชาย 69.9 ปี แต่ในความเป็นจริง คือคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุส่วนใหญ่กลับสวนทางกับอายุขัยเฉลี่ยดังกล่าว นอกจากสถานการณ์ด้านการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรแล้วนั้น ขณะเดียวกัน ประเทศไทยก็กำลังประสบกับภาวะเจริญพันธุ์ที่ต่ำลง หรือที่เรียกว่าภาวการณ์มีบุตรน้อย จากการสำรวจเมื่อปี 2554 พบว่า ประชากรที่มีอายุ 80 ปี จะมีอัตราการมีบุตรเฉลี่ยคนละ 4.6 คน ส่วนประชากรอายุระหว่าง 50-54 ปี มีบุตรเฉลี่ยเพียงคนละ 2.1 คน เท่านั้น เมื่อเปรียบเทียบสัดส่วนจะเห็นว่า แนวโน้มการมีบุตรลดลงค่อนข้างมาก ประกอบกับค่าเฉลี่ยอายุในปัจจุบันที่สูงขึ้น ในระยะยาวสังคมไทยจึงอาจประสบปัญหาคุณภาพชีวิต และการเป็นอยู่ชีวิตของผู้สูงอายุ เนื่องจากผู้สูงอายุจำนวนหนึ่งอาจไม่มีบุตรหลานคอยดูแล.
ดังนั้น โรงเรียนผู้สูงอายุ จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ ในโรงเรียนผู้สูงอายุ โรงพยาบาลปะเหลียน ปี2560 ขึ้น โดยมีการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ ในโรงเรียนผู้สูงอายุ กลุ่มติดสังคมมารวมกลุ่มเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ และมีกิจกรรมดูแลผู้สูงอายุกลุ่มติดบ้าน กลุ่มติดเตียง โดยมีคณะกรรมการและคณะทำงานพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ ทักษะในการดูแลสุขภาพลดภาวะผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 100 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพอนามัยของตนเอง ทั้งด้านโภชนาการ การฟื้นฟูสมรรถภาพร่างกายและจิตใจ ลดภาวะผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียง
เกิดเครือข่ายการดูแลผู้สูงอายุในชุมชน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ค่าอาหารกลางวัน |
||
วันที่ 30 มีนาคม 2560 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผู้เข้าร่วมโครงการได้รับประทานอาหารกลางวัน
|
100 | 100 |
2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม |
||
วันที่ 30 มีนาคม 2560 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผู้เข้าร่วมโครงการได้รับประทานอาหารว่างและเครื่องดื่ม
|
100 | 100 |
3. ค่าป้ายไวนิล |
||
วันที่ 30 มีนาคม 2560 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นป้ายไวนิลโครงการ 1 ผืน
|
0 | 100 |
4. ค่าเอกสารประกอบการอบรม |
||
วันที่ 30 มีนาคม 2560 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นเอกสารประกอบการฝึกอบรม 100 ชุด
|
0 | 100 |
5. ค่าวิทยากร |
||
วันที่ 30 มีนาคม 2560 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นค่าวิทยากรบรรยาย
|
0 | 100 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
- ประชุมคณะทำงานและจัดเตรียมโครงการ จำนวน 1 ครั้ง
- มีการประเมินผลการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 95
- สมาชิกโรงเรียนผู้สูงอายุมีความรู้ ร้อยละ 90
- สมาชิกชมรมผู้สูงอายุที่มีภาวะเสี่ยงและเป็นโรคเรื้อรัง สามารถดูแลสุขภาพตนเองได้โดยมีภาวะแทรกซ้อนลดลง
- เกิดจิตอาสาดูแลผู้สูงอายุในชุมชน
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ ทักษะในการดูแลสุขภาพลดภาวะผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียง ตัวชี้วัด : |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 100 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 100 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ ทักษะในการดูแลสุขภาพลดภาวะผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ ในโรงเรียนผู้สูงอายุโรงพยาบาลปะเหลียน ปี 2560 จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 60-L1480-2-11
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสุจินต์ ณ พัทลุง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......