โครงการบาเจาะ โมเดล ต้นแบบการกำจัดไข้มาลาเรียโดยชุมชน ต.บาเจาะ
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการบาเจาะ โมเดล ต้นแบบการกำจัดไข้มาลาเรียโดยชุมชน ต.บาเจาะ ”
ตำบลบาเจาะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นายอิสมาแอกามุง
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาเจาะ
สิงหาคม 2561
ชื่อโครงการ โครงการบาเจาะ โมเดล ต้นแบบการกำจัดไข้มาลาเรียโดยชุมชน ต.บาเจาะ
ที่อยู่ ตำบลบาเจาะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 61- L4127 -5-10 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2561 ถึง 31 สิงหาคม 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการบาเจาะ โมเดล ต้นแบบการกำจัดไข้มาลาเรียโดยชุมชน ต.บาเจาะ จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบาเจาะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาเจาะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการบาเจาะ โมเดล ต้นแบบการกำจัดไข้มาลาเรียโดยชุมชน ต.บาเจาะ
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการบาเจาะ โมเดล ต้นแบบการกำจัดไข้มาลาเรียโดยชุมชน ต.บาเจาะ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบาเจาะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 61- L4127 -5-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2561 - 31 สิงหาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 86,480.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาเจาะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ไข้มาลาเรียยังเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศไทย มีการระบาดมากในพื้นที่หลายจังหวัดของประเทศ ปี พ.ศ.2560 จังหวัดที่พบผู้ป่วยด้วยไข้มาลาเรียสูงสุด 10 อันดับแรก คือยะลาตาก นราธิวาส สงขลา อุบลราชธานี แม่ฮ่องสอน กาญจนบุรี ศรีสะเกษปัตตานีและ เชียงราย ตามลำดับ พบผู้ป่วยรวมทั้งสิ้น 16,878 ราย หรือคิดเป็นร้อยละ 89.97 ของผู้ป่วยทั้งประเทศ
จังหวัดยะลาเป็นจังหวัดชายแดนที่อยู่ทางตอนใต้สุดประเทศไทย ติดต่อกับประเทศมาเลเซีย ภูมิประเทศโดยทั่วไปเป็นป่าเขามีสภาพอากาศค่อนข้างชุ่มชื้นในรอบปีจะมีฝนตกชุกสองช่วง แม้ปัจจุบันสภาพดินฟ้าอากาศมีความแปรปรวนผิดไปจากฤดูกาลเดิมไปบ้าง เช่น มีฝนตกเกือบทุกช่วงเดือนแต่ในปริมาณน้อยสถานการณ์ไข้มาลาเรีย ปีพ.ศ.2560 ตรวจพบผู้ป่วยด้วยไข้มาลาเรียจำนวน 6,427 ราย คิดเป็นร้อยละ 39.59 ของผู้ป่วยทั้งประเทศโดยมีชนิดเชื้อมาลาเรียที่พบในจังหวัดยะลามีสองชนิด คือ ฟัลซิปารั่ม และไวแวกซ์จากอุบัติการณ์ปีพ.ศ.2560 พบผู้ป่วยติดเชื้อมาลาเรียชนิดไวแวกซ์ ร้อยละ 89.94 และเชื้อมาลาเรียชนิดฟัลซิปารั่ม ร้อยละ 13.06 ที่เหลือเป็นเชื้อชนิดผสม (Mix) ซึ่งเป็นปรากฏการณ์ของการระบาดที่เปลี่ยนแปลงไปจากอดีตที่ผ่านมาของจังหวัดยะลา
ตำบลบาเจาะ อำเภอบันนังสตาจังหวัดยะลา เป็นอีกหนึ่งตำบลที่ประสบปัญหาการระบาดไข้มาลาเรียในชุมชน จากสถิติการระบาดปี พ.ศ. 2559-2560พบว่า เป็นพื้นที่ที่มีการระบาดสูงเป็นอันดับต้นของอำเภอบันนังสตาส่งผลกระทบให้ประชาชนในพื้นที่ได้รับการเจ็บป่วยจำนวนมาก และสร้างความสูญเสียด้านเศรษฐกิจ การดำรงเลี้ยงชีพ และภาระการดูแลผู้เจ็บป่วยตลอดมา
การดำเนินงานการกำจัดไข้มาลาเรียให้ได้ผลและเกิดความยั่งยืนนั้น เป้าหมายสำคัญอยู่ที่ชุมชนและประชาชนเป็นศูนย์กลางการสร้างความร่วมมือ และขับเคลื่อนการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรค ให้เกิดเป็นชุมชนพึ่งตนเอง โดยมีภาครัฐส่งเสริม สนับสนุนให้ความรู้และแนวทางการปฏิบัติงานอย่างเป็นรูปแบบ อันจะส่งผลให้การกำจัดไข้มาลาเรียลดน้อยลงหรือหมดไปจากพื้นที่ และสร้างความยั่งยืนให้แก่ชุมชน และแก้ไขปัญหาของโรคที่เป็นปัญหาในพื้นที่ภายใต้บริบทของพื้นที่ที่ประสบปัญหาด้านความมั่นคงในปัจจุบัน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อลดอัตราป่วยด้วยไข้มาลาเรียในพื้นที่ตำบลบาเจาะ
- เพื่อสร้างนวัตกรรม ชุมชนต้นแบบในการกำจัดไข้มาลาเรียโดยชุมชน
- เพื่อสร้างความยั่งยืนในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคไข้มาลาเรียในพื้นที่
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
16,878
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.สามารถลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้มาลาเรีย
2. ประชาชนในพื้นที่ตำบลบาเจาะได้รับการเฝ้าระวังและป้องกันควบคุมโรคอย่างคลอบคลุม
3. การมีส่วนร่วมจากภาคีเครือข่ายในการควบคุมป้องกันโรคไข้มาลาเรียในชุมชน
4. ชุมชนเกิดความเข้มแข็งในการดูแล เฝ้าระวังโรคไข้มาลาเรียโดยชุมชนพึ่งตนเอง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อลดอัตราป่วยด้วยไข้มาลาเรียในพื้นที่ตำบลบาเจาะ
ตัวชี้วัด : อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ลดลงจากปีที่ผ่านมา ร้อยละ 30
1.00
2
เพื่อสร้างนวัตกรรม ชุมชนต้นแบบในการกำจัดไข้มาลาเรียโดยชุมชน
ตัวชี้วัด : อัตราชุมชนต้นแบบในการกำจัดไข้มาลาเรียโดยชุมชน ร้อยละ 30
1.00
3
เพื่อสร้างความยั่งยืนในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคไข้มาลาเรียในพื้นที่
ตัวชี้วัด : อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ลดลงจากปีที่ผ่านมา ร้อยละ 30
1.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
16878
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
16,878
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดอัตราป่วยด้วยไข้มาลาเรียในพื้นที่ตำบลบาเจาะ (2) เพื่อสร้างนวัตกรรม ชุมชนต้นแบบในการกำจัดไข้มาลาเรียโดยชุมชน (3) เพื่อสร้างความยั่งยืนในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคไข้มาลาเรียในพื้นที่
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการบาเจาะ โมเดล ต้นแบบการกำจัดไข้มาลาเรียโดยชุมชน ต.บาเจาะ จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 61- L4127 -5-10
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายอิสมาแอกามุง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการบาเจาะ โมเดล ต้นแบบการกำจัดไข้มาลาเรียโดยชุมชน ต.บาเจาะ ”
ตำบลบาเจาะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นายอิสมาแอกามุง
สิงหาคม 2561
ที่อยู่ ตำบลบาเจาะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 61- L4127 -5-10 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2561 ถึง 31 สิงหาคม 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการบาเจาะ โมเดล ต้นแบบการกำจัดไข้มาลาเรียโดยชุมชน ต.บาเจาะ จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบาเจาะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาเจาะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการบาเจาะ โมเดล ต้นแบบการกำจัดไข้มาลาเรียโดยชุมชน ต.บาเจาะ
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการบาเจาะ โมเดล ต้นแบบการกำจัดไข้มาลาเรียโดยชุมชน ต.บาเจาะ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบาเจาะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 61- L4127 -5-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2561 - 31 สิงหาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 86,480.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาเจาะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ไข้มาลาเรียยังเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศไทย มีการระบาดมากในพื้นที่หลายจังหวัดของประเทศ ปี พ.ศ.2560 จังหวัดที่พบผู้ป่วยด้วยไข้มาลาเรียสูงสุด 10 อันดับแรก คือยะลาตาก นราธิวาส สงขลา อุบลราชธานี แม่ฮ่องสอน กาญจนบุรี ศรีสะเกษปัตตานีและ เชียงราย ตามลำดับ พบผู้ป่วยรวมทั้งสิ้น 16,878 ราย หรือคิดเป็นร้อยละ 89.97 ของผู้ป่วยทั้งประเทศ
จังหวัดยะลาเป็นจังหวัดชายแดนที่อยู่ทางตอนใต้สุดประเทศไทย ติดต่อกับประเทศมาเลเซีย ภูมิประเทศโดยทั่วไปเป็นป่าเขามีสภาพอากาศค่อนข้างชุ่มชื้นในรอบปีจะมีฝนตกชุกสองช่วง แม้ปัจจุบันสภาพดินฟ้าอากาศมีความแปรปรวนผิดไปจากฤดูกาลเดิมไปบ้าง เช่น มีฝนตกเกือบทุกช่วงเดือนแต่ในปริมาณน้อยสถานการณ์ไข้มาลาเรีย ปีพ.ศ.2560 ตรวจพบผู้ป่วยด้วยไข้มาลาเรียจำนวน 6,427 ราย คิดเป็นร้อยละ 39.59 ของผู้ป่วยทั้งประเทศโดยมีชนิดเชื้อมาลาเรียที่พบในจังหวัดยะลามีสองชนิด คือ ฟัลซิปารั่ม และไวแวกซ์จากอุบัติการณ์ปีพ.ศ.2560 พบผู้ป่วยติดเชื้อมาลาเรียชนิดไวแวกซ์ ร้อยละ 89.94 และเชื้อมาลาเรียชนิดฟัลซิปารั่ม ร้อยละ 13.06 ที่เหลือเป็นเชื้อชนิดผสม (Mix) ซึ่งเป็นปรากฏการณ์ของการระบาดที่เปลี่ยนแปลงไปจากอดีตที่ผ่านมาของจังหวัดยะลา
ตำบลบาเจาะ อำเภอบันนังสตาจังหวัดยะลา เป็นอีกหนึ่งตำบลที่ประสบปัญหาการระบาดไข้มาลาเรียในชุมชน จากสถิติการระบาดปี พ.ศ. 2559-2560พบว่า เป็นพื้นที่ที่มีการระบาดสูงเป็นอันดับต้นของอำเภอบันนังสตาส่งผลกระทบให้ประชาชนในพื้นที่ได้รับการเจ็บป่วยจำนวนมาก และสร้างความสูญเสียด้านเศรษฐกิจ การดำรงเลี้ยงชีพ และภาระการดูแลผู้เจ็บป่วยตลอดมา
การดำเนินงานการกำจัดไข้มาลาเรียให้ได้ผลและเกิดความยั่งยืนนั้น เป้าหมายสำคัญอยู่ที่ชุมชนและประชาชนเป็นศูนย์กลางการสร้างความร่วมมือ และขับเคลื่อนการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรค ให้เกิดเป็นชุมชนพึ่งตนเอง โดยมีภาครัฐส่งเสริม สนับสนุนให้ความรู้และแนวทางการปฏิบัติงานอย่างเป็นรูปแบบ อันจะส่งผลให้การกำจัดไข้มาลาเรียลดน้อยลงหรือหมดไปจากพื้นที่ และสร้างความยั่งยืนให้แก่ชุมชน และแก้ไขปัญหาของโรคที่เป็นปัญหาในพื้นที่ภายใต้บริบทของพื้นที่ที่ประสบปัญหาด้านความมั่นคงในปัจจุบัน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อลดอัตราป่วยด้วยไข้มาลาเรียในพื้นที่ตำบลบาเจาะ
- เพื่อสร้างนวัตกรรม ชุมชนต้นแบบในการกำจัดไข้มาลาเรียโดยชุมชน
- เพื่อสร้างความยั่งยืนในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคไข้มาลาเรียในพื้นที่
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 16,878 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.สามารถลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้มาลาเรีย
2. ประชาชนในพื้นที่ตำบลบาเจาะได้รับการเฝ้าระวังและป้องกันควบคุมโรคอย่างคลอบคลุม
3. การมีส่วนร่วมจากภาคีเครือข่ายในการควบคุมป้องกันโรคไข้มาลาเรียในชุมชน
4. ชุมชนเกิดความเข้มแข็งในการดูแล เฝ้าระวังโรคไข้มาลาเรียโดยชุมชนพึ่งตนเอง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อลดอัตราป่วยด้วยไข้มาลาเรียในพื้นที่ตำบลบาเจาะ ตัวชี้วัด : อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ลดลงจากปีที่ผ่านมา ร้อยละ 30 |
1.00 |
|
||
2 | เพื่อสร้างนวัตกรรม ชุมชนต้นแบบในการกำจัดไข้มาลาเรียโดยชุมชน ตัวชี้วัด : อัตราชุมชนต้นแบบในการกำจัดไข้มาลาเรียโดยชุมชน ร้อยละ 30 |
1.00 |
|
||
3 | เพื่อสร้างความยั่งยืนในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคไข้มาลาเรียในพื้นที่ ตัวชี้วัด : อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ลดลงจากปีที่ผ่านมา ร้อยละ 30 |
1.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 16878 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 16,878 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดอัตราป่วยด้วยไข้มาลาเรียในพื้นที่ตำบลบาเจาะ (2) เพื่อสร้างนวัตกรรม ชุมชนต้นแบบในการกำจัดไข้มาลาเรียโดยชุมชน (3) เพื่อสร้างความยั่งยืนในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคไข้มาลาเรียในพื้นที่
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการบาเจาะ โมเดล ต้นแบบการกำจัดไข้มาลาเรียโดยชุมชน ต.บาเจาะ จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 61- L4127 -5-10
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายอิสมาแอกามุง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......