กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลชะแล้


“ โครงการอาหารของแม่ ”

ตำบลชะแล้ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวกนกวรรณพร แสงจันทร์

ชื่อโครงการ โครงการอาหารของแม่

ที่อยู่ ตำบลชะแล้ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61 – L5262 -03-02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 13 กรกฎาคม 2561 ถึง 28 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอาหารของแม่ จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลชะแล้ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลชะแล้ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอาหารของแม่



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอาหารของแม่ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลชะแล้ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61 – L5262 -03-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 13 กรกฎาคม 2561 - 28 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลชะแล้ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

“ อร่อยจังแม่”คำพูดของเด็กที่เปล่งออกมาจากความประทับใจ "แม่" กับข้าวฝีมือแม่มักไม่ใช่อาหารที่ใช้วัตถุดิบหรูหราหายาก ไม่ใช่อาหารที่ปรุงด้วยเทคนิคพิเศษ แต่กับข้าวฝีมือแม่ใส่ความรัก ความห่วงใย และความเอาใจใส่ กับข้าวแม่เป็นตัวแทนของสายใยแม่-ลูก ที่ถูกปรุงขึ้นเพื่อคนตัวเล็กๆ ไม่กี่คนในบ้านเท่านั้น รสชาติอาหารที่คุ้นลิ้นมาตั้งแต่อ้อนแต่ออก กินกี่ครั้งๆกี่หนก็ไม่เคยเบื่อ เครื่องปรุงรสที่สำคัญที่สุดคือ “ความรัก” แม่ใช้ความรักความใส่ใจเป็นเครื่องปรุงรสในอาหารทุกชนิด แม่รู้เสมอว่าลูกคนนี้ชอบอะไร ไม่ชอบอะไร เปรี้ยว หวาน มัน เค็ม ขนาดไหนคงไม่มีเครื่องปรุงรสยี่ห้อใดที่จะให้ความอร่อยเท่ากับเครื่องปรุงรสของแม่ แต่ “ลูก”ชอบอะไร ไม่ชอบอะไร เปรี้ยว หวาน มัน เค็ม ขนาดไหนที่จะให้ความอร่อยกับลูกไม่เพียงพอกับสภาพแวดล้อมทางสังคมในปัจจุบันเมื่อสถานการณ์ของสังคมที่เร่งร้าว บีบรัดเด็กเล็กและลูกต้องอาศัยอยู่กับปู่ย่า ตายาย หรืออยู่กันเองตามลำพังกับพี่หรือน้อง พ่อ และแม่ต้องออกนอกบ้านเพื่อทำงานหาเงินเลี้ยงครอบครัวตั้งแต่เช้ามืด กลับถึงบ้านในตอนเย็นมืดค่ำ เด็กเล็กเลือกบริโภคอาหารตามความชอบ หรือตามกระแสส่งผลให้เด็กอยู่ในภาวะที่เสี่ยงทุพโภชนาการอ้วนมาก หรือผอมเกินที่เป็นภัยเงียบไม่ส่งผลโดนทันทีคือพัฒนาการทางสมองของเด็กด้อยลงตามไปด้วย ช่วงวัย 6 ปีแรกของชีวิตเป็นระยะสำคัญที่จะสามารถ กระตุ้นสมองของเด็กให้เซลล์สมองทำวงจรเชื่อมโยงแผ่ขยายได้มากขึ้น หากได้รับการกระตุ้นที่เหมาะสม ทั้งในด้านความชอบและความถนัดของเด็ก จะทำให้พัฒนาการของเด็กปฐมวัยเป็นไปอย่างรวดเร็ว และเป็นพื้นฐานสำหรับการพัฒนาสติปัญญาเด็กในวัยต่างๆ ต่อไปการศึกษาขององค์กรเครือข่ายการวิจัยด้านสมองและระบบประสาท (BRAINnet – Brain Research And Integrative Neuroscience Network) ชี้ว่า การพัฒนาการเรียนรู้ด้านต่างๆ ของเด็กที่มีประสิทธิภาพมากที่สุด ควรเริ่มตั้งแต่ปฐมวัย หรือบางด้านอาจต้องเริ่มตั้งแต่อยู่ในครรภ์ ( อ้างถึง : การพัฒนาอัจฉริยภาพด้านต่างๆคณะทำงานสุขภาพคนไทยhttp://www.thaihealthreport.com/index2551-007) ภาวะทุพโภชนาการมีระดับความรุนแรงของปัญหาในระดับภาคมีการเปลี่ยนแปลงค่อนข้างชัดเจน ภาคอีสานเคยเป็นพื้นที่ ที่เคยมีอัตราความชุกของภาวะทุพโภชนาการสูงที่สุดมาโดยตลอด แต่ในการสำรวจปี พ.ศ. 2549 นี้ ภาคใต้กลายเป็นภาคที่มีภาวะทุพโภชนาการทั้งด้านขาดและเกินที่น่าเป็นห่วง ซึ่งสอดคล้องกับผลการสำรวจภาวะอาหารและโภชนาการของประเทศไทยครั้งที่ 5 พ.ศ.2546ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราภาวะทุพโภชนาการได้แก่ ระดับการศึกษาของหัวหน้าครัวเรือนฐานะทางเศรษฐกิจของครัวเรือน แต่เมื่อฐานะทางเศรษฐกิจของครัวเรือนสูงขึ้น ก็มักเกิดภาวะโภชนาการเกินในเด็กเพิ่มขึ้นด้วย(อ้างถึง: ผู้ช่วยศาสตราจารย์ อุไรพร จิตต์แจ้ง : สถาบันวิจัยโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดลhttp://www.thaihealthreport.com/index2551-005) ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมูลนิธิพระโสภณคุณาธาร (เนียมสุวโจ) มีจำนวนเด็กเล็ก 58 คนมาจากครอบครัวที่มีฐานะไม่เท่าเทียมกันของคนในชุมชนชะแล้จากการสำรวจเบื้องต้นพบว่า มีจำนวนเด็กเล็กมีระดับพัฒนาการทางร่างกายสัมพันธ์กับช่วงอายุของเด็กที่ต่ำกว่าเกณฑ์ จำนวน 30 คนระดับพัฒนาการด้านการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็กมัดใหญ่ตามเกณฑ์ จึงต้องการจัดทำโครงการขึ้นเพื่อเสริมทักษะความเข้าใจแก่แม่หรือผู้ปกครองของเด็กเล็กด้านโภชนาการที่สมวัยแก่เด็กเล็กต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดปัญหาภาวะทุพโภชนาการในเด็กเล็กในศูนย์ฯจัดการให้เด็กได้รับกำลังงาน สารอาหารอย่างเพียงพอ
  2. เพื่อให้เด็กเล็ก มีพัฒนาการที่สมวัยทั้งด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ จิตใจและสังคม
  3. เพื่อให้เด็กเล็กที่มีพัฒนาการล่าช้าให้ได้รับการกระตุ้นพัฒนาการให้มีพัฒนาการที่สมวัยและได้รับการรักษาที่ถูกต้องในรายที่มีความผิดปกติมาก
  4. เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้ปกครองและผู้เลี้ยงดูเด็กให้มีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก
  5. เพื่อสร้างเสริมความรัก ความสัมพันธ์ระหว่างเด็ก และผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็ก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ๑. ผู้ปกครองเด็กเล็กมีระดับความเข้าใจด้านอาหารโภชนาการและพัฒนาการกล้ามเนื้อมัดเล็ก มัดใหญ่ ร้อยละ ๘๐
    ๒. เด็กเล็กในศูนย์ฯมีการเจริญเติบโตตามเกณฑ์ ร้อยละ๘๐ ๓. เด็กเล็กที่มีภาวะทุพโภชนาการได้รับการแก้ไข ร้อยละ๑๐๐


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อลดปัญหาภาวะทุพโภชนาการในเด็กเล็กในศูนย์ฯจัดการให้เด็กได้รับกำลังงาน สารอาหารอย่างเพียงพอ
    ตัวชี้วัด : 1) ครูพี่เลี้ยง ผู้ปกครองร่วมออกแบบรายการอาหารกลางวันและอาหารเสริมตลอดช่วงระยะการเรียนในภาคการศึกษา 2) จัดรายการอาหารประจำวันตามโปรแกรม School lunch
    100.00

     

    2 เพื่อให้เด็กเล็ก มีพัฒนาการที่สมวัยทั้งด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ จิตใจและสังคม
    ตัวชี้วัด : 1) เด็กเล็กในศูนย์ฯผ่านการตรวจสอบ ทดสอบ ประเมินตามเกณฑ์มาตรฐาน ร้อยละ ๘๐
    80.00

     

    3 เพื่อให้เด็กเล็กที่มีพัฒนาการล่าช้าให้ได้รับการกระตุ้นพัฒนาการให้มีพัฒนาการที่สมวัยและได้รับการรักษาที่ถูกต้องในรายที่มีความผิดปกติมาก
    ตัวชี้วัด : 1) พัฒนาเด็กเล็กที่มีพัฒนาการล่าช้า กลับอยู่ในภาวะปกติ ร้อยละ ๑๐๐ 2) ผู้ปกครองของเด็กเล็กที่มีพัฒนาการล่าช้า รับรู้ เข้าใจวิธีการกระตุ้นเด็ก ร้อยละ ๑๐๐
    100.00

     

    4 เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้ปกครองและผู้เลี้ยงดูเด็กให้มีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก
    ตัวชี้วัด : 1) ครูพี้เลี้ยง ผู้ปกครองเด็ก มีความเข้าใจระดับความเข้าใจด้านอาหารโภชนาการและพัฒนาการกล้ามเนื้อมัดเล็ก มัดใหญ่ ของผู้ปกครอง ร้อยละ ๘๐
    80.00

     

    5 เพื่อสร้างเสริมความรัก ความสัมพันธ์ระหว่างเด็ก และผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็ก
    ตัวชี้วัด : 2) ร้อยละ ๙๐ ครูพี้เลี้ยง ผู้ปกครองเด็กมีความพึงพอใจ
    90.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดปัญหาภาวะทุพโภชนาการในเด็กเล็กในศูนย์ฯจัดการให้เด็กได้รับกำลังงาน สารอาหารอย่างเพียงพอ (2) เพื่อให้เด็กเล็ก มีพัฒนาการที่สมวัยทั้งด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ จิตใจและสังคม (3) เพื่อให้เด็กเล็กที่มีพัฒนาการล่าช้าให้ได้รับการกระตุ้นพัฒนาการให้มีพัฒนาการที่สมวัยและได้รับการรักษาที่ถูกต้องในรายที่มีความผิดปกติมาก (4) เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้ปกครองและผู้เลี้ยงดูเด็กให้มีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก (5) เพื่อสร้างเสริมความรัก ความสัมพันธ์ระหว่างเด็ก และผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็ก

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการอาหารของแม่ จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 61 – L5262 -03-02

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวกนกวรรณพร แสงจันทร์ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด