โครงการ บริหารจัดการขยะตามหลัก 3Rs เพื่อเป็นจังหวัดสตูลสะอาดแบบยั่งยืน ประจำปี 2561
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการ บริหารจัดการขยะตามหลัก 3Rs เพื่อเป็นจังหวัดสตูลสะอาดแบบยั่งยืน ประจำปี 2561 ”
ตำบลทุ่งนุ้ย อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นายปรีดี เรืองพูน
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งนุ้ย
ธันวาคม 2561
ชื่อโครงการ โครงการ บริหารจัดการขยะตามหลัก 3Rs เพื่อเป็นจังหวัดสตูลสะอาดแบบยั่งยืน ประจำปี 2561
ที่อยู่ ตำบลทุ่งนุ้ย อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 61-L5281-1-07 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2561 ถึง 31 ธันวาคม 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการ บริหารจัดการขยะตามหลัก 3Rs เพื่อเป็นจังหวัดสตูลสะอาดแบบยั่งยืน ประจำปี 2561 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งนุ้ย อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งนุ้ย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการ บริหารจัดการขยะตามหลัก 3Rs เพื่อเป็นจังหวัดสตูลสะอาดแบบยั่งยืน ประจำปี 2561
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการ บริหารจัดการขยะตามหลัก 3Rs เพื่อเป็นจังหวัดสตูลสะอาดแบบยั่งยืน ประจำปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งนุ้ย อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 61-L5281-1-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2561 - 31 ธันวาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งนุ้ย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ตามนโยบายรัฐบาล ได้มีมติคณะรัฐมนตรีวันที่ ๒๐ กันยายน ๒๕๕๙ มอบภาระกิจการจัดการขยะให้เป็นหน้าที่หลักของหลักประกันสุขภาพองค์กรปกครองท้องถิ่น ปฏิบัติการตามแผนปฏิบัติการของกระทรวงมหาดไทย “ ประเทศไทย ไร้ขยะ” ตามแนวทางประชารัฐ
กระทรวงมหาดไทยโดยกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ได้กำหนดแนวทางการปฏิบัติงานด้านการบริหารขยะมูลฝอย “ จังหวัดสะอาด” โดยมีเป้าหมาย
๑. ปริมาณขยะมูลฝอยที่เข้าสู่ระบบการจัดการปลายทางลดลง
๒. ขยะอันตรายในชุมชนได้รับการคัดแยก
๓. ทุกพื้นที่ทุกภาคส่วนภายใต้หลักประชารัฐมีการลดและคัดแยกขยะมูลฝอย
๔. ขยะมูลฝอย ให้หมู่บ้าน/ชุมชน ต้นแบบ ลดและคัดแยกขยะมูลฝอย
๕. มีการนำขยะมูลฝอยไปใช้ให้เกิดประโยชน์และสร้างมูลค่า
จังหวัดสตูลได้ลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือการบริหารจัดการขยะมูลฝอยชุมชนหลัก 3Rs –ประชารัฐ ระหว่างจังหวัดสตูลกับองค์กรปกครองท้องถิ่นทั้ง ๔๑ แห่ง เรียบร้อยแล้วตั้งแต่วันที่ ๓๐ พฤศจิกายน ๒๕๕๙ และได้ออกคำสั่งจังหวัดสตูลที่๑๔๔๗/๒๕๕๙ เรื่องการแต่งตั้งคณะทำงานด้านการบริหารจัดการขยะมูลฝอยในชุมชน “ จังหวัดสะอาด” ระดับจังหวัด ตั้งแต่วันที่ ๑๗ สิงหาคม ๒๕๕๙
ดังนั้น เพื่อให้เป็นไปตามนโยบายรัฐบาลตามแผนปฏิบัติการของกระทรวงมหาดไทย เพื่อให้ลดขยะปลายทาง ตามเป้าหมายสู่ความสำเร็จ จำเป็นต้องลดขยะต้นทางอันเป็นต้นเหตุการณ์เพิ่มปริมาณของขยะแห้งและขยะเปียก และให้องค์กรปกครองท้องถิ่นขยายผลไปสู่ชุมชน/หมู่บ้าน และสู่ครัวเรือน โดยการคัดแยกขยะแห้งไปใช้ประโยชน์หรือจำหน่ายเป็นรายได้ สำหรับขยะเปียกให้นำจุลินทรี มาย่อยสลายกลายเป็นน้ำหมักชีวภาพ นำไปเป็นปุ๋ยน้ำ ใช้ประโยชน์ในการเกษตรกรรมปลูกพืช เลี้ยงสัตว์ เพิ่มรายได้ ลดรายจ่ายในครัวเรือนและชะระงับกลิ่น ป้องกันเชื้อโรค กำจัดแมลงวันและยุงต่อไป สำหรับขยะอันตรายก็จะมีการจัดเก็บให้ถูกสุขลักษณะและนำไปกำจัดทิ้งตามวิธีการ
สำนักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจังหวัดสตูลร่วมกับสำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดสตูล สำนักงานสาธารณสุข และสำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัดสตูล ได้ร่วมกันจัดทำโครงการบริหารจัดการขยะตามหลัก 3Rsดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควนบ่อทองจึงได้จัดทำโครงการนี้เพื่อเป็นจังหวัดสตูลสะอาด ประจำปี ๒๕๖๐
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อลดขยะแห้งและขยะเปียกจากต้นทางและการนำขยะมาใช้ประโยชน์
- เพื่อสร้างจิตสำนึกให้ประชาชนคำนึงถึงอันตรายที่เกิดจากขยะมูลฝอยทั่วไปและขยะมีพิษอันตรายและจัดทำสถานที่รวบรวมขยะอันตรายไว้ทุกหมู่บ้าน
- เพื่อให้ประชาชนได้รับความรู้และรู้จักวิธีใช้ประโยชน์จากขยะเหลือใช้และขยะมูลฝอยที่สามารถนำมาใช้ประโยชน์ต่อเนื่องได้
- เพื่อนำผลที่ได้จากการคัดแยกขยะย่อยขยะในครัวเรือนไปใช้ประโยชน์ลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ ให้ตนเองและครอบครัว
- เพื่อนำไปสู่เป้าหมายตามนโยบายจังหวัดสตูล
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมอสม.ผู้นำ คณะกรรมการขยะประชาชนทั่วไป
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
150
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ลดขยะแห้งและขยะเปียกปลายทางโดยการคัดแยกและนำไปใช้ประโยชน์ในครัวเรือนเพิ่มรายได้ลดรายจ่ายในครัวเรือน
2.อสม.ผู้นำชุมชน คณะกรรมการขยะประชาชนทั่วไปมีความรู้และรู้จักวิธีใช้ประโยชน์จากขยะเหลือใช้และขยะมูลฝอยที่สามารถนำมาใช้ประโยชน์ต่อเนื่องและนำไปถ่ายทอดได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อลดขยะแห้งและขยะเปียกจากต้นทางและการนำขยะมาใช้ประโยชน์
ตัวชี้วัด : 1.ครัวเรือนเข้าร่วมโครงการร้อยละ 60
2.มีหมู่บ้านจัดการขยะดีเด่นเพิ่มขึ้นจำนวน 2 หมู่บ้าน
0.00
2
เพื่อสร้างจิตสำนึกให้ประชาชนคำนึงถึงอันตรายที่เกิดจากขยะมูลฝอยทั่วไปและขยะมีพิษอันตรายและจัดทำสถานที่รวบรวมขยะอันตรายไว้ทุกหมู่บ้าน
ตัวชี้วัด : 1.ครัวเรือนเข้าร่วมโครงการร้อยละ 60
2.มีหมู่บ้านจัดการขยะดีเด่นเพิ่มขึ้นจำนวน 2 หมู่บ้าน
0.00
3
เพื่อให้ประชาชนได้รับความรู้และรู้จักวิธีใช้ประโยชน์จากขยะเหลือใช้และขยะมูลฝอยที่สามารถนำมาใช้ประโยชน์ต่อเนื่องได้
ตัวชี้วัด : 1.ครัวเรือนเข้าร่วมโครงการร้อยละ 60
2.มีหมู่บ้านจัดการขยะดีเด่นเพิ่มขึ้นจำนวน 2 หมู่บ้าน
0.00
4
เพื่อนำผลที่ได้จากการคัดแยกขยะย่อยขยะในครัวเรือนไปใช้ประโยชน์ลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ ให้ตนเองและครอบครัว
ตัวชี้วัด : 1.ครัวเรือนเข้าร่วมโครงการร้อยละ 60
2.มีหมู่บ้านจัดการขยะดีเด่นเพิ่มขึ้นจำนวน 2 หมู่บ้าน
0.00
5
เพื่อนำไปสู่เป้าหมายตามนโยบายจังหวัดสตูล
ตัวชี้วัด : 1.ครัวเรือนเข้าร่วมโครงการร้อยละ 60
2.มีหมู่บ้านจัดการขยะดีเด่นเพิ่มขึ้นจำนวน 2 หมู่บ้าน
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
150
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
150
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดขยะแห้งและขยะเปียกจากต้นทางและการนำขยะมาใช้ประโยชน์ (2) เพื่อสร้างจิตสำนึกให้ประชาชนคำนึงถึงอันตรายที่เกิดจากขยะมูลฝอยทั่วไปและขยะมีพิษอันตรายและจัดทำสถานที่รวบรวมขยะอันตรายไว้ทุกหมู่บ้าน (3) เพื่อให้ประชาชนได้รับความรู้และรู้จักวิธีใช้ประโยชน์จากขยะเหลือใช้และขยะมูลฝอยที่สามารถนำมาใช้ประโยชน์ต่อเนื่องได้ (4) เพื่อนำผลที่ได้จากการคัดแยกขยะย่อยขยะในครัวเรือนไปใช้ประโยชน์ลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ ให้ตนเองและครอบครัว (5) เพื่อนำไปสู่เป้าหมายตามนโยบายจังหวัดสตูล
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมอสม.ผู้นำ คณะกรรมการขยะประชาชนทั่วไป
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการ บริหารจัดการขยะตามหลัก 3Rs เพื่อเป็นจังหวัดสตูลสะอาดแบบยั่งยืน ประจำปี 2561 จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 61-L5281-1-07
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายปรีดี เรืองพูน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการ บริหารจัดการขยะตามหลัก 3Rs เพื่อเป็นจังหวัดสตูลสะอาดแบบยั่งยืน ประจำปี 2561 ”
ตำบลทุ่งนุ้ย อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นายปรีดี เรืองพูน
ธันวาคม 2561
ที่อยู่ ตำบลทุ่งนุ้ย อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 61-L5281-1-07 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2561 ถึง 31 ธันวาคม 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการ บริหารจัดการขยะตามหลัก 3Rs เพื่อเป็นจังหวัดสตูลสะอาดแบบยั่งยืน ประจำปี 2561 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งนุ้ย อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งนุ้ย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการ บริหารจัดการขยะตามหลัก 3Rs เพื่อเป็นจังหวัดสตูลสะอาดแบบยั่งยืน ประจำปี 2561
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการ บริหารจัดการขยะตามหลัก 3Rs เพื่อเป็นจังหวัดสตูลสะอาดแบบยั่งยืน ประจำปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งนุ้ย อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 61-L5281-1-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2561 - 31 ธันวาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งนุ้ย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ตามนโยบายรัฐบาล ได้มีมติคณะรัฐมนตรีวันที่ ๒๐ กันยายน ๒๕๕๙ มอบภาระกิจการจัดการขยะให้เป็นหน้าที่หลักของหลักประกันสุขภาพองค์กรปกครองท้องถิ่น ปฏิบัติการตามแผนปฏิบัติการของกระทรวงมหาดไทย “ ประเทศไทย ไร้ขยะ” ตามแนวทางประชารัฐ
กระทรวงมหาดไทยโดยกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ได้กำหนดแนวทางการปฏิบัติงานด้านการบริหารขยะมูลฝอย “ จังหวัดสะอาด” โดยมีเป้าหมาย
๑. ปริมาณขยะมูลฝอยที่เข้าสู่ระบบการจัดการปลายทางลดลง
๒. ขยะอันตรายในชุมชนได้รับการคัดแยก
๓. ทุกพื้นที่ทุกภาคส่วนภายใต้หลักประชารัฐมีการลดและคัดแยกขยะมูลฝอย
๔. ขยะมูลฝอย ให้หมู่บ้าน/ชุมชน ต้นแบบ ลดและคัดแยกขยะมูลฝอย
๕. มีการนำขยะมูลฝอยไปใช้ให้เกิดประโยชน์และสร้างมูลค่า
จังหวัดสตูลได้ลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือการบริหารจัดการขยะมูลฝอยชุมชนหลัก 3Rs –ประชารัฐ ระหว่างจังหวัดสตูลกับองค์กรปกครองท้องถิ่นทั้ง ๔๑ แห่ง เรียบร้อยแล้วตั้งแต่วันที่ ๓๐ พฤศจิกายน ๒๕๕๙ และได้ออกคำสั่งจังหวัดสตูลที่๑๔๔๗/๒๕๕๙ เรื่องการแต่งตั้งคณะทำงานด้านการบริหารจัดการขยะมูลฝอยในชุมชน “ จังหวัดสะอาด” ระดับจังหวัด ตั้งแต่วันที่ ๑๗ สิงหาคม ๒๕๕๙
ดังนั้น เพื่อให้เป็นไปตามนโยบายรัฐบาลตามแผนปฏิบัติการของกระทรวงมหาดไทย เพื่อให้ลดขยะปลายทาง ตามเป้าหมายสู่ความสำเร็จ จำเป็นต้องลดขยะต้นทางอันเป็นต้นเหตุการณ์เพิ่มปริมาณของขยะแห้งและขยะเปียก และให้องค์กรปกครองท้องถิ่นขยายผลไปสู่ชุมชน/หมู่บ้าน และสู่ครัวเรือน โดยการคัดแยกขยะแห้งไปใช้ประโยชน์หรือจำหน่ายเป็นรายได้ สำหรับขยะเปียกให้นำจุลินทรี มาย่อยสลายกลายเป็นน้ำหมักชีวภาพ นำไปเป็นปุ๋ยน้ำ ใช้ประโยชน์ในการเกษตรกรรมปลูกพืช เลี้ยงสัตว์ เพิ่มรายได้ ลดรายจ่ายในครัวเรือนและชะระงับกลิ่น ป้องกันเชื้อโรค กำจัดแมลงวันและยุงต่อไป สำหรับขยะอันตรายก็จะมีการจัดเก็บให้ถูกสุขลักษณะและนำไปกำจัดทิ้งตามวิธีการ
สำนักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจังหวัดสตูลร่วมกับสำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดสตูล สำนักงานสาธารณสุข และสำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัดสตูล ได้ร่วมกันจัดทำโครงการบริหารจัดการขยะตามหลัก 3Rsดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควนบ่อทองจึงได้จัดทำโครงการนี้เพื่อเป็นจังหวัดสตูลสะอาด ประจำปี ๒๕๖๐
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อลดขยะแห้งและขยะเปียกจากต้นทางและการนำขยะมาใช้ประโยชน์
- เพื่อสร้างจิตสำนึกให้ประชาชนคำนึงถึงอันตรายที่เกิดจากขยะมูลฝอยทั่วไปและขยะมีพิษอันตรายและจัดทำสถานที่รวบรวมขยะอันตรายไว้ทุกหมู่บ้าน
- เพื่อให้ประชาชนได้รับความรู้และรู้จักวิธีใช้ประโยชน์จากขยะเหลือใช้และขยะมูลฝอยที่สามารถนำมาใช้ประโยชน์ต่อเนื่องได้
- เพื่อนำผลที่ได้จากการคัดแยกขยะย่อยขยะในครัวเรือนไปใช้ประโยชน์ลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ ให้ตนเองและครอบครัว
- เพื่อนำไปสู่เป้าหมายตามนโยบายจังหวัดสตูล
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมอสม.ผู้นำ คณะกรรมการขยะประชาชนทั่วไป
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 150 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ลดขยะแห้งและขยะเปียกปลายทางโดยการคัดแยกและนำไปใช้ประโยชน์ในครัวเรือนเพิ่มรายได้ลดรายจ่ายในครัวเรือน 2.อสม.ผู้นำชุมชน คณะกรรมการขยะประชาชนทั่วไปมีความรู้และรู้จักวิธีใช้ประโยชน์จากขยะเหลือใช้และขยะมูลฝอยที่สามารถนำมาใช้ประโยชน์ต่อเนื่องและนำไปถ่ายทอดได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อลดขยะแห้งและขยะเปียกจากต้นทางและการนำขยะมาใช้ประโยชน์ ตัวชี้วัด : 1.ครัวเรือนเข้าร่วมโครงการร้อยละ 60 2.มีหมู่บ้านจัดการขยะดีเด่นเพิ่มขึ้นจำนวน 2 หมู่บ้าน |
0.00 |
|
||
2 | เพื่อสร้างจิตสำนึกให้ประชาชนคำนึงถึงอันตรายที่เกิดจากขยะมูลฝอยทั่วไปและขยะมีพิษอันตรายและจัดทำสถานที่รวบรวมขยะอันตรายไว้ทุกหมู่บ้าน ตัวชี้วัด : 1.ครัวเรือนเข้าร่วมโครงการร้อยละ 60 2.มีหมู่บ้านจัดการขยะดีเด่นเพิ่มขึ้นจำนวน 2 หมู่บ้าน |
0.00 |
|
||
3 | เพื่อให้ประชาชนได้รับความรู้และรู้จักวิธีใช้ประโยชน์จากขยะเหลือใช้และขยะมูลฝอยที่สามารถนำมาใช้ประโยชน์ต่อเนื่องได้ ตัวชี้วัด : 1.ครัวเรือนเข้าร่วมโครงการร้อยละ 60 2.มีหมู่บ้านจัดการขยะดีเด่นเพิ่มขึ้นจำนวน 2 หมู่บ้าน |
0.00 |
|
||
4 | เพื่อนำผลที่ได้จากการคัดแยกขยะย่อยขยะในครัวเรือนไปใช้ประโยชน์ลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ ให้ตนเองและครอบครัว ตัวชี้วัด : 1.ครัวเรือนเข้าร่วมโครงการร้อยละ 60 2.มีหมู่บ้านจัดการขยะดีเด่นเพิ่มขึ้นจำนวน 2 หมู่บ้าน |
0.00 |
|
||
5 | เพื่อนำไปสู่เป้าหมายตามนโยบายจังหวัดสตูล ตัวชี้วัด : 1.ครัวเรือนเข้าร่วมโครงการร้อยละ 60 2.มีหมู่บ้านจัดการขยะดีเด่นเพิ่มขึ้นจำนวน 2 หมู่บ้าน |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 150 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 150 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดขยะแห้งและขยะเปียกจากต้นทางและการนำขยะมาใช้ประโยชน์ (2) เพื่อสร้างจิตสำนึกให้ประชาชนคำนึงถึงอันตรายที่เกิดจากขยะมูลฝอยทั่วไปและขยะมีพิษอันตรายและจัดทำสถานที่รวบรวมขยะอันตรายไว้ทุกหมู่บ้าน (3) เพื่อให้ประชาชนได้รับความรู้และรู้จักวิธีใช้ประโยชน์จากขยะเหลือใช้และขยะมูลฝอยที่สามารถนำมาใช้ประโยชน์ต่อเนื่องได้ (4) เพื่อนำผลที่ได้จากการคัดแยกขยะย่อยขยะในครัวเรือนไปใช้ประโยชน์ลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ ให้ตนเองและครอบครัว (5) เพื่อนำไปสู่เป้าหมายตามนโยบายจังหวัดสตูล
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมอสม.ผู้นำ คณะกรรมการขยะประชาชนทั่วไป
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการ บริหารจัดการขยะตามหลัก 3Rs เพื่อเป็นจังหวัดสตูลสะอาดแบบยั่งยืน ประจำปี 2561 จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 61-L5281-1-07
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายปรีดี เรืองพูน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......