กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเสริมพลังสู้ภาวะแทรกซ้อนจากเบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งนุ้ย อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ ๒๕๖๑

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งนุ้ย


“ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเสริมพลังสู้ภาวะแทรกซ้อนจากเบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งนุ้ย อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ ๒๕๖๑ ”

ตำบลทุ่งนุ้ย อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางยุพา ปังแลมาเส็น

ชื่อโครงการ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเสริมพลังสู้ภาวะแทรกซ้อนจากเบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งนุ้ย อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ ๒๕๖๑

ที่อยู่ ตำบลทุ่งนุ้ย อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 61-L5281-1-15 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเสริมพลังสู้ภาวะแทรกซ้อนจากเบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งนุ้ย อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ ๒๕๖๑ จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งนุ้ย อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งนุ้ย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเสริมพลังสู้ภาวะแทรกซ้อนจากเบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งนุ้ย อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ ๒๕๖๑



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเสริมพลังสู้ภาวะแทรกซ้อนจากเบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งนุ้ย อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ ๒๕๖๑ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งนุ้ย อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 61-L5281-1-15 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 31,920.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งนุ้ย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงเป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง คือ ไม่ได้เกิดจากเชื้อโรคและไม่สามารถแพร่กระจายจากคนสู่คนได้ แต่เป็นโรคที่เกิดจากนิสัยหรือพฤติกรรมการดำเนินชีวิต ซึ่งจะมีการดำเนินโรคอย่างช้าๆ ค่อยๆ สะสมอาการอย่างต่อเนื่อง และเมื่อมีอาการของโรคแล้วมักจะเกิดการเรื้อรังของโรคด้วยเกิดการเสียหน้าที่ของอวัยวะต่างๆ ของร่างกายโดยเฉพาะที่ ตา ไต ประสาท หัวใจ และหลอดเลือด ก่อให้เกิดการสูญเสียทางเศรษฐกิจของครอบครัว และของรัฐเป็นอย่างมาก การให้ความรู้และสนับสนุนให้ผู้ป่วยเบาหวานควบคุมน้ำตาลในเลือดใกล้เคียงปกติ และผู้ป่วยความดันควบคุมความดันโลหิตได้อย่างต่อเนื่อง สามารถลดภาวะแทรกซ้อนจากความเสื่อมหน้าที่ของอวัยวะต่างๆ ของร่างกายได้  และที่สำคัญการสร้างผู้ดูแลที่มีคุณภาพ เตรียมความพร้อมสร้างอสม.ที่เข้มแข็งเพื่อเป็นแกนนำในการช่วยดูแลผู้ป่วยและกลุ่มเสี่ยงที่จะเป็นโรคให้สามารถจัดการกับภาวะสุขภาพด้วยตนเอง ครอบครัว และชุมชนเป็นสิ่งสำคัญยิ่งต่อการดูแลรักษา และควบคุมโรคที่ยั่งยืน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งนุ้ย ได้ตระหนักถึงความสำคัญในการให้ข้อมูล ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพของกลุ่มป่วย ผู้ดูแลและอสม.เพื่อให้รู้เท่าทันโรคที่เป็น ส่งเสริม รักษา และฟื้นฟูสุขภาพ ให้ความสำคัญกับการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดและควบคุมความดันโลหิตสูงให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ จะช่วยลดความเสี่ยง และชะลอการเกิดภาวะแทรกซ้อนที่จะตามมาได้ นำไปสู่การมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนของผู้ของผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง
  2. เพื่อกระตุ้นให้ผู้ป่วย/ผู้ดูแลตระหนักต่อการดูแลสุขภาพของตนเองก่อนการเจ็บป่วยรุนแรง
  3. เพื่อกำหนดมาตรการและวิธีการเชิงรุกในการส่งเสริมสุขภาพ รักษาและควบคุมโรค โดยการสนับสนุนจากภาคีเครือข่าย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. บรรยายให้ความรู้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 136
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 70
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. ประชาชนกลุ่มป่วยไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนของโรค และลดความรุนแรงของโรค
๒. ประชาชนกลุ่มป่วยใช้พื้นฐานชีวิตในการดูแลอาการของโรค ด้วยตนเอง โดยการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย ๓. ภาวะแทรกซ้อนทางเท้าในกลุ่มผู้ป่วยเบาหวาน ลดลง หรือไม่เกิดเพิ่มขึ้น ๔. ผู้ป่วยสามารถควบคุมระดับน้ำตาลและความดันโลหิตให้อยู่ในเกณฑ์ที่ปกติของโรค


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. บรรยายให้ความรู้

วันที่ 29 สิงหาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

ขั้นเตรียมการ             ๑.  เสนอร่างโครงการผ่านเวทีพิจารณาโดยคณะกรรมการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งนุ้ย
๒.  จัดทำทะเบียนกลุ่มผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงในเขตรับผิดชอบรพ.สต.ทุ่งนุ้ย ขั้นดำเนินการ               ๓. เขียนโครงการและศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ               ๔. เสนอโครงการผ่านเวทีประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งนุ้ย  เพื่อขออนุมัติและสนับสนุนงบประมาณ               ๕.  ปรับปรุงแก้ไขโครงการตามข้อเสนอแนะของคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ  องค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งนุ้ย
๖. ดำเนินการตามแผนงานโครงการที่จัดทำขึ้น  ดังนี้         -กำหนดวัน เวลา สถานที่ในการจัดประชุม   -  จัดทำหนังสือเชิญกลุ่มเป้าหมาย         -  จัดอบรมโดยการบรรยายและการสาธิต ขั้นประเมินผล ๗.  ประเมิลผลการดำเนินโครงการเปรียบเทียบกับวัตถุประสงค์             ๘.  ประเมิลผลการดำเนินโครงการเปรียบเทียบกับเป้าหมาย   ๙.  ประเมิลผลการดำเนินโครงการเปรียบเทียบกับงบประมาณ   ๑๐. ประเมิลผลการดำเนินโครงการเปรียบเทียบกับผลที่คาดว่าจะได้รับ ๑๑.  ประเมิลผลการดำเนินโครงการเปรียบเทียบกับความทันเวลาในการดำเนินโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สรุปผลการดำเนินงานสามารถติดตามได้ที่กองทุนหรือภาพถ่ายกิจกรรม

 

206 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนของผู้ของผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : ภาวะแทรกซ้อนทางเท้าในกลุ่มผู้ป่วยเบาหวาน ลดลง หรือไม่เกิดเพิ่มขึ้นผู้ป่วยความดันโลหิตสูงไม่มีภาวะแทรกซ้อน
0.00

 

2 เพื่อกระตุ้นให้ผู้ป่วย/ผู้ดูแลตระหนักต่อการดูแลสุขภาพของตนเองก่อนการเจ็บป่วยรุนแรง
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยมารับยาอย่างต่อเนื่อง และปฏิบัติตัวได้เหมาะสม
0.00

 

3 เพื่อกำหนดมาตรการและวิธีการเชิงรุกในการส่งเสริมสุขภาพ รักษาและควบคุมโรค โดยการสนับสนุนจากภาคีเครือข่าย
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงได้รับการเฝ้าระวังติดตามและป้องกันภาวะแทรกซ้อน
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 206
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 136
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 70
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนของผู้ของผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง (2) เพื่อกระตุ้นให้ผู้ป่วย/ผู้ดูแลตระหนักต่อการดูแลสุขภาพของตนเองก่อนการเจ็บป่วยรุนแรง (3) เพื่อกำหนดมาตรการและวิธีการเชิงรุกในการส่งเสริมสุขภาพ รักษาและควบคุมโรค โดยการสนับสนุนจากภาคีเครือข่าย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) บรรยายให้ความรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเสริมพลังสู้ภาวะแทรกซ้อนจากเบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งนุ้ย อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ ๒๕๖๑ จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 61-L5281-1-15

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางยุพา ปังแลมาเส็น )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด