กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควน


“ โครงการดูแลรักษาผู้สูงอายุข้อเข่าเสื่อมด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลควน ประจำปี2561 ”

ตำบลควน อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางสาวคูซัยบ๊ะ ดือราแมง

ชื่อโครงการ โครงการดูแลรักษาผู้สูงอายุข้อเข่าเสื่อมด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลควน ประจำปี2561

ที่อยู่ ตำบลควน อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 61-L2990-1-03 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการดูแลรักษาผู้สูงอายุข้อเข่าเสื่อมด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลควน ประจำปี2561 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลควน อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการดูแลรักษาผู้สูงอายุข้อเข่าเสื่อมด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลควน ประจำปี2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการดูแลรักษาผู้สูงอายุข้อเข่าเสื่อมด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลควน ประจำปี2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลควน อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 61-L2990-1-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 28,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคข้อเข่าเสื่อม เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ พบมากในวัยกลางคนและผู้สูงอายุ ซึ่งมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ผู้ที่มีภาวะข้อเข่าเสื่อมมาก ถ้าไม่ได้รับการรักษาหรือปฏิบัติตัวอย่างเหมาะสม  โรคจะดำเนินไปเรื่อยๆ อาจทำให้มีความเจ็บปวด ข้อเข่าผิดรูป เดินได้ไม่ปกติ การปฏิบัติกิจวัตรประจำวันต่างๆ ก็ทำได้ไม่สะดวก จะมีความทุกข์ทรมานทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจหากประชาชนหรือผู้ที่เริ่มมีอาการข้อเข่าเสื่อมมีความรู้สามารถดูแลตนเองเพื่อชะลอความเสื่อม หรือบรรเทาอาการของข้อเข่าเสื่อม ก็จะส่งผลต่อคุณภาพชีวิตที่ดีในระยะยาว
พบว่าในปี ๒๕๔๙ ประเทศไทยมีผู้ป่วยโรคข้อเข่าเสื่อมกว่า ๖ ล้านคน พบทั้งผู้สูงอายุและวัยกลางคนมากขึ้น และมีแนวโน้มที่จะเพิ่มขึ้นอีกทุกๆปี โดยในอดีตโรคข้อเข่าเสื่อม ส่วนใหญ่จะพบในผู้สูงอายุ แต่ทุกวันนี้พบในอายุน้อยลง ในกลุ่มที่มีอายุน้อยกว่า ๔๕ ปี ผู้ชายจะเป็นโรคนี้มากกว่าผู้หญิง ในกลุ่มอายุมากกว่า ๔๕ ปี ผู้หญิงจะเป็นมากกว่าผู้ชาย และยังพบอีกว่าทั้งชายและหญิงที่มีอายุ ๗๕ ปีขึ้นไป จะป่วยเป็นโรคข้อเข่าเสื่อมมากกว่าร้อยละ ๘๐-๙๐ นอกจากอายุจะเป็นปัจจัยที่สำคัญแล้ว ยังพบว่าอาชีพหรือการทำงานหนักก็เป็นสาเหตุสำคัญ ที่ทำให้เกิดอาการข้อเข่าเสื่อมได้ง่าย ผลการคัดกรองข้อมูลผู้สูงอายุในประเทศไทยในปี ๒๕๕๗ พบว่า ผู้สูงอายุที่เป็นโรคความดันโลหิตสูงร้อยละ ๙๗.๔ ภาวะโภชนาการร้อยละ ๑๐.๒ โรคเบาหวานร้อยละ ๙.๔ โรคข้อเข่าเสื่อมร้อยละ๘.๗ โรคหัวใจแลหลอดเลือดร้อยละ ๖.๖ ตาต้อกระจกร้อยละ๕.๓ ตามลำดับ ซึ่งการรักษาโดยทั่วไปจะได้รับการรักษาด้วยศาสตร์แพทย์แผนปัจจุบัน ด้วยการให้ยารับประทาน หรือไม่ก็ผ่าตัด ส่วนการดูแลรักษาข้อเข่าเสื่อมด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยนั้น จะมีการรักษาด้วยการนวดกดจุด การจ่ายยาสมุนไพร และการพอกยาเพื่อช่วยลดหรือบรรเทาอาการปวด ยาสมุนไพรนั้นถือว่าเป็นยาที่ไม่มีผลข้างเคียงใดๆ และเป็นการนำสมุนไพรที่อยู่รอบๆตัวมาใช้ประโยชน์ ส่วนการพอกด้วยสมุนไพรก็เป็นอีกวิธีหนึ่งที่แพทย์แผนไทยนิยมใช้ในการรักษาโรคจับโปงเข่าหรือโรคข้อเข่าเสื่อม ซึ่งโรคจับโปงเข่า จะมีอาการปวดมาก บวม แดง ร้อน ขณะที่บวมและอักเสบจะมีความร้อนเพิ่มขึ้น ซึ่งการพอกด้วยสมุนไพร คือ การใช้สมุนไพรมาพอกเพื่อดูดพิษการอักเสบตามข้อต่างๆ ที่มีอาการปวด บวม แดง ร้อน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลควน อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี พบว่าโรคข้อเข่าเสื่อมเป็นหนึ่งในจำนวนหลายๆโรคที่ตรวจพบ ดังนั้นงานแพทย์แผนไทยจึงมีแนวทางการดูแลรักษาด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุสามารถพึ่งพาตนเองได้ อีกทั้งเพื่อหลีกเลี่ยงการผ่าตัดข้อเข่า และการรับประทานยาแผนปัจจุบัน ซึ่งการรับประทานยาจะทำให้มีผลข้างเคียงเกิดขึ้นหลายด้าน อาทิ เช่น กระเพาะอาหารอักเสบ เป็นแผลในกระเพาะอาหาร เป็นต้น จากข้อมูลดังกล่าวโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลควนได้เล็งเห็นและตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาสุขภาพของกลุ่มวัยผู้สูงอายุ จึงได้จัดทำโครงการดูแลรักษาผู้สูงอายุข้อเข่าเสื่อมด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุที่เป็นโรคข้อเข่าเสื่อมใช้สมุนไพรในการพึ่งตนเองได้ มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสภาวะข้อเข่าเสื่อม วิธีการรักษาด้วยการแพทย์แผนไทยตลอดจนการนำไปใช้อย่างเหมาะสม เพื่อลดปัญหาความเจ็บป่วยข้อเข่าเสื่อมในผู้สูงอายุ ตอบสนองนโยบายกรมพัฒนางานแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก และนโยบายงานการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกจังหวัด

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑. เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองโรคข้อเข่าเสื่อม ๒. เพื่อลดอาการปวดเข่าในผู้สูงอายุ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ผลผลิต:
    1. ร้อยละ 9๐ ของผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองโรคข้อเข่าเสื่อม ๒. ร้อยละ ๖0 ของผู้สูงอายุสามารถลดอาการปวดเข่าได้ 3.ร้อยละ 100 อสม.มีความรู้และทักษะในศาสตร์ด้านแผนไทย ผลลัพธ์ 1. ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองโรคข้อเข่าเสื่อม 2. ผู้สูงอายุมีอาการปวดเข่าลดลง


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    1. ผลงานการดำเนินงานตามโครงการ การดำเนินงานตามโครงการจัดกิจกรรมดังนี้ 1.1 ประชุมกลุ่มคณะทำงานของ รพ.สต.ควน 1.2 คัดกรอง/ประเมินโรคข้อเข่าเสื่อมในผู้สูงอายุ 1.3 อบรมให้ความรู้เรื่องข้อเข่าเสื่อมในผู้สูงอายุ 1.4 ดูแลรักษาด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย 1.5 ติดตาม ประเมินผลหลังการรักษา

    2. การประเมินผล 2.1 ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองโรคข้อเข่าเสื่อมจำนวน 60 คน คิดเป็นร้อยละ 100
      2.2 ผู้สูงอายุสามารถลดอาการปวดเข่าได้จำนวน 45 คน คิดเป็นร้อยละ 75     2.3 อสม.มีความรู้และทักษะในศาสตร์ด้านแผนไทย จำนวน 41 คน คิดเป็นร้อยละ 100

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 ๑. เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองโรคข้อเข่าเสื่อม ๒. เพื่อลดอาการปวดเข่าในผู้สูงอายุ
    ตัวชี้วัด : ๑. ร้อยละ ๙๐ ของผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองโรคข้อเข่าเสื่อม ๒. ร้อยละ ๖๐ ของผู้สูงอายุสามารถลดอาการปวดเข่าได้
    0.00 2.16

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองโรคข้อเข่าเสื่อม  ๒. เพื่อลดอาการปวดเข่าในผู้สูงอายุ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการดูแลรักษาผู้สูงอายุข้อเข่าเสื่อมด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลควน ประจำปี2561 จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ 61-L2990-1-03

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวคูซัยบ๊ะ ดือราแมง )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด