โครงการคุ้มครองผู้บริโภคด้านอาหารและยาในชุมชน ปีงบประมาณ 2560
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการคุ้มครองผู้บริโภคด้านอาหารและยาในชุมชน ปีงบประมาณ 2560 ”
ตำบลโคกเคียน อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางจิรภาพูลเทพ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกเคียน
สิงหาคม 2560
ชื่อโครงการ โครงการคุ้มครองผู้บริโภคด้านอาหารและยาในชุมชน ปีงบประมาณ 2560
ที่อยู่ ตำบลโคกเคียน อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 60-L2492-1-07 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 18 สิงหาคม 2560 ถึง 21 สิงหาคม 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการคุ้มครองผู้บริโภคด้านอาหารและยาในชุมชน ปีงบประมาณ 2560 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโคกเคียน อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกเคียน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการคุ้มครองผู้บริโภคด้านอาหารและยาในชุมชน ปีงบประมาณ 2560
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการคุ้มครองผู้บริโภคด้านอาหารและยาในชุมชน ปีงบประมาณ 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโคกเคียน อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 60-L2492-1-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 18 สิงหาคม 2560 - 21 สิงหาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 28,450.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกเคียน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ในปัจจุบันจากสถิติการป่วยและเสียชีวิตของคนไทยพบว่าป่วยด้วยโรคที่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพเป็นอันดับต้น ๆ เช่น โรคมะเร็งทุกชนิดโรคหัวใจขาดเลือดโรคเส้นเลือดในสมองอุดตัน เป็นต้น ซึ่งสาเหตุหนึ่งมาจากการบริโภคอาหารที่ไม่ปลอดภัย มีสารปนเปื้อนอาหารที่ไม่ได้มาตรฐานอาหารแปลกปลอม อาหารสุก ๆ ดิบ ๆ เป็นต้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโคกเคียน มีพื้นที่รับผิดชอบ ๖หมู่บ้าน มีประชากรรับผิดชอบ ๑๐,๗๕๐ คน มีจำนวนหลังคาเรือน๒,๐๓๑ หลังประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพรับจ้างประมงเกษตรกรรมเลี้ยงสัตว์เป็นต้นครอบครัวมีลักษณะเป็นครอบครัวเดี่ยวแต่อาศัยอยู่ในละแวกเดียวกันวิถีชึวิตชุมชนโดยส่วนใหญ่นิยมซื้ออาหารถุงอาหารปรุงสุกที่มีจำหน่ายโดยทั่วไปในพื้นที่เนื่องจากไม่มีเวลา ทำให้มีโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคที่เกิดจากพฤติกรรมดังกล่าวได้ จากการวิเคราะห์ปัญหาด้านสุขภาพของประชากรในพื้นที่ พบว่ายังป่วยด้วยโรคเบาหวานความดันโลหิตสูง และโรคติดเชื้อในระบบทางเดินอาหารเช่น โรคอุจจาระร่วง โรคบิดไข้ไทฟอยด์อาหารเป็นพิษ เป็นต้นซึ่งโรคเหล่านี้ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยและครอบครัวและอีกปัญหาหนึ่งที่ประชาชนในพื้นที่ยังขาดความรู้ความเข้าใจ คือ การใช้ยายังมีความนิยมใช้ยาชุด หรือยาที่พ่อค้าเร่โฆษณาสรรพคุณ ดังนั้นจึงจำเป็นต้องรวมพลังกันดำเนินการหลาย ๆมาตรการทุกรูปแบบในการดูแลประชาชนในพื้นที่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโคกเคียน ได้ตระหนักถึงปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการคุ้มครองผู้บริโภคด้านอาหารและยาในชุมชนปีงบประมาณ ๒๕๖๐ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อพัฒนากำกับดูแลร้านอาหารแผงลอยและร้านชำในพื้นที่
- เพื่อตรวจสอบและเฝ้าระวังด้านการคุ้มครองผู้บริโภค
- เพื่อแก้ไขปัญหาโฆษณาผลิตภัณฑ์ที่ฝ่าฝืนกฎหมายและเรื่องร้องเรียนในพื้นที่
- ประชาชนในพื้นที่มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องอาหารและยา โดยอาสาสมัครคุ้มครองผู้บริโภค ซึ่งเป็น
เยาวชนในโรงเรียน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
120
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
40
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. ร้านอาหาร และแผงลอยผ่านการประเมินตามเกณฑ์ร้อยละ ๙๐
๒. ประชาชนได้บริโภคอาหารปลอดภัย และ มีความรู้ความเข้าใจในการบริโภคอาหารและการใช้ยาที่
ถูกต้อง
๓.ประชาชนได้รับการดูแลด้านงานคุ้มครองผู้บริโภค
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. อบรมให้ความรู้งานคุ้มครองผู้บริโภคในโรงเรียน
วันที่ 18 สิงหาคม 2560 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- อบรมให้ความรู้แก่เด็กนักเรียนเกี่ยวกับอาหารและยา สารปนเปื่อนในอาหาร
-ได้รับความเข้าใจด้านอาหารและยา
120
121
2. อบรมให้ความรู้ผู้ประกอบการร้านค้า แผงลอย
วันที่ 21 สิงหาคม 2560 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
-อบรมให้ความรู้ผู้ประกอบการร้านค้า แผงลอย
-ประชาชนบริโภคอาหารที่สะอาดถูกหลักสุขาภิบาลและร้านอาหาร/แผงลอยมีมาตรฐานสะอาด ปลอดภัย
40
40
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
จัดกิจกรรมอบรมนักเรียนระดับมัธยมศึกษา โรงเรียนบ้านทอน จำนวน 121 คน มีความรู้ความเข้าใจ เรื่องอาหารและยา บุหรี่ ผ่านการอบรม เป็น อย.น้อย เฝ้าระวังด้านคุ้มครองผู้บริโภคด้านในโรงเรียน
จัดกิจกรรมอบรมผู้ประกอบร้านขายของชำ จำนวน 35 คน ร้านอาหาร 4 คน รวม 40 คน ผ่านการอบรมมีความรู้ความเข้าใจ เรื่องอาหารและยา ในการปรับปรุงเรื่องข้อกำหนดที่ได้มาตรฐานของร้านอาหาร แผงลอยจำหน่ายอาหาร ได้ร้อยละ 95
ได้มอบป้ายรับรองมาตรฐาน อาหารสะอาด รสชาดิอร่อย จำนวน 15 ป้าย
ได้มอบชุดกันเปื้อนพร้อม หมวก แก่ร้านอาหารในพื้นที่ รวม 40 ชุด
ประชาชนบริโภคอาหารที่สะอาดถูกหลักสุขาภิบาล และร้านอาหาร/แผลลอยมีมาตรฐานสะอาด ปลอดภัย
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อพัฒนากำกับดูแลร้านอาหารแผงลอยและร้านชำในพื้นที่
ตัวชี้วัด :
2
เพื่อตรวจสอบและเฝ้าระวังด้านการคุ้มครองผู้บริโภค
ตัวชี้วัด :
3
เพื่อแก้ไขปัญหาโฆษณาผลิตภัณฑ์ที่ฝ่าฝืนกฎหมายและเรื่องร้องเรียนในพื้นที่
ตัวชี้วัด :
4
ประชาชนในพื้นที่มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องอาหารและยา โดยอาสาสมัครคุ้มครองผู้บริโภค ซึ่งเป็น
เยาวชนในโรงเรียน
ตัวชี้วัด :
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
160
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
120
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
40
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนากำกับดูแลร้านอาหารแผงลอยและร้านชำในพื้นที่ (2) เพื่อตรวจสอบและเฝ้าระวังด้านการคุ้มครองผู้บริโภค (3) เพื่อแก้ไขปัญหาโฆษณาผลิตภัณฑ์ที่ฝ่าฝืนกฎหมายและเรื่องร้องเรียนในพื้นที่ (4) ประชาชนในพื้นที่มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องอาหารและยา โดยอาสาสมัครคุ้มครองผู้บริโภค ซึ่งเป็น
เยาวชนในโรงเรียน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการคุ้มครองผู้บริโภคด้านอาหารและยาในชุมชน ปีงบประมาณ 2560 จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 60-L2492-1-07
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางจิรภาพูลเทพ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการคุ้มครองผู้บริโภคด้านอาหารและยาในชุมชน ปีงบประมาณ 2560 ”
ตำบลโคกเคียน อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางจิรภาพูลเทพ
สิงหาคม 2560
ที่อยู่ ตำบลโคกเคียน อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 60-L2492-1-07 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 18 สิงหาคม 2560 ถึง 21 สิงหาคม 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการคุ้มครองผู้บริโภคด้านอาหารและยาในชุมชน ปีงบประมาณ 2560 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโคกเคียน อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกเคียน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการคุ้มครองผู้บริโภคด้านอาหารและยาในชุมชน ปีงบประมาณ 2560
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการคุ้มครองผู้บริโภคด้านอาหารและยาในชุมชน ปีงบประมาณ 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโคกเคียน อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 60-L2492-1-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 18 สิงหาคม 2560 - 21 สิงหาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 28,450.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกเคียน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ในปัจจุบันจากสถิติการป่วยและเสียชีวิตของคนไทยพบว่าป่วยด้วยโรคที่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพเป็นอันดับต้น ๆ เช่น โรคมะเร็งทุกชนิดโรคหัวใจขาดเลือดโรคเส้นเลือดในสมองอุดตัน เป็นต้น ซึ่งสาเหตุหนึ่งมาจากการบริโภคอาหารที่ไม่ปลอดภัย มีสารปนเปื้อนอาหารที่ไม่ได้มาตรฐานอาหารแปลกปลอม อาหารสุก ๆ ดิบ ๆ เป็นต้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโคกเคียน มีพื้นที่รับผิดชอบ ๖หมู่บ้าน มีประชากรรับผิดชอบ ๑๐,๗๕๐ คน มีจำนวนหลังคาเรือน๒,๐๓๑ หลังประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพรับจ้างประมงเกษตรกรรมเลี้ยงสัตว์เป็นต้นครอบครัวมีลักษณะเป็นครอบครัวเดี่ยวแต่อาศัยอยู่ในละแวกเดียวกันวิถีชึวิตชุมชนโดยส่วนใหญ่นิยมซื้ออาหารถุงอาหารปรุงสุกที่มีจำหน่ายโดยทั่วไปในพื้นที่เนื่องจากไม่มีเวลา ทำให้มีโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคที่เกิดจากพฤติกรรมดังกล่าวได้ จากการวิเคราะห์ปัญหาด้านสุขภาพของประชากรในพื้นที่ พบว่ายังป่วยด้วยโรคเบาหวานความดันโลหิตสูง และโรคติดเชื้อในระบบทางเดินอาหารเช่น โรคอุจจาระร่วง โรคบิดไข้ไทฟอยด์อาหารเป็นพิษ เป็นต้นซึ่งโรคเหล่านี้ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยและครอบครัวและอีกปัญหาหนึ่งที่ประชาชนในพื้นที่ยังขาดความรู้ความเข้าใจ คือ การใช้ยายังมีความนิยมใช้ยาชุด หรือยาที่พ่อค้าเร่โฆษณาสรรพคุณ ดังนั้นจึงจำเป็นต้องรวมพลังกันดำเนินการหลาย ๆมาตรการทุกรูปแบบในการดูแลประชาชนในพื้นที่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโคกเคียน ได้ตระหนักถึงปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการคุ้มครองผู้บริโภคด้านอาหารและยาในชุมชนปีงบประมาณ ๒๕๖๐ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อพัฒนากำกับดูแลร้านอาหารแผงลอยและร้านชำในพื้นที่
- เพื่อตรวจสอบและเฝ้าระวังด้านการคุ้มครองผู้บริโภค
- เพื่อแก้ไขปัญหาโฆษณาผลิตภัณฑ์ที่ฝ่าฝืนกฎหมายและเรื่องร้องเรียนในพื้นที่
- ประชาชนในพื้นที่มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องอาหารและยา โดยอาสาสมัครคุ้มครองผู้บริโภค ซึ่งเป็น เยาวชนในโรงเรียน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 120 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 40 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. ร้านอาหาร และแผงลอยผ่านการประเมินตามเกณฑ์ร้อยละ ๙๐ ๒. ประชาชนได้บริโภคอาหารปลอดภัย และ มีความรู้ความเข้าใจในการบริโภคอาหารและการใช้ยาที่ ถูกต้อง ๓.ประชาชนได้รับการดูแลด้านงานคุ้มครองผู้บริโภค
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. อบรมให้ความรู้งานคุ้มครองผู้บริโภคในโรงเรียน |
||
วันที่ 18 สิงหาคม 2560 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
120 | 121 |
2. อบรมให้ความรู้ผู้ประกอบการร้านค้า แผงลอย |
||
วันที่ 21 สิงหาคม 2560 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น-อบรมให้ความรู้ผู้ประกอบการร้านค้า แผงลอย -ประชาชนบริโภคอาหารที่สะอาดถูกหลักสุขาภิบาลและร้านอาหาร/แผงลอยมีมาตรฐานสะอาด ปลอดภัย
|
40 | 40 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
จัดกิจกรรมอบรมนักเรียนระดับมัธยมศึกษา โรงเรียนบ้านทอน จำนวน 121 คน มีความรู้ความเข้าใจ เรื่องอาหารและยา บุหรี่ ผ่านการอบรม เป็น อย.น้อย เฝ้าระวังด้านคุ้มครองผู้บริโภคด้านในโรงเรียน จัดกิจกรรมอบรมผู้ประกอบร้านขายของชำ จำนวน 35 คน ร้านอาหาร 4 คน รวม 40 คน ผ่านการอบรมมีความรู้ความเข้าใจ เรื่องอาหารและยา ในการปรับปรุงเรื่องข้อกำหนดที่ได้มาตรฐานของร้านอาหาร แผงลอยจำหน่ายอาหาร ได้ร้อยละ 95 ได้มอบป้ายรับรองมาตรฐาน อาหารสะอาด รสชาดิอร่อย จำนวน 15 ป้าย ได้มอบชุดกันเปื้อนพร้อม หมวก แก่ร้านอาหารในพื้นที่ รวม 40 ชุด ประชาชนบริโภคอาหารที่สะอาดถูกหลักสุขาภิบาล และร้านอาหาร/แผลลอยมีมาตรฐานสะอาด ปลอดภัย
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อพัฒนากำกับดูแลร้านอาหารแผงลอยและร้านชำในพื้นที่ ตัวชี้วัด : |
|
|||
2 | เพื่อตรวจสอบและเฝ้าระวังด้านการคุ้มครองผู้บริโภค ตัวชี้วัด : |
|
|||
3 | เพื่อแก้ไขปัญหาโฆษณาผลิตภัณฑ์ที่ฝ่าฝืนกฎหมายและเรื่องร้องเรียนในพื้นที่ ตัวชี้วัด : |
|
|||
4 | ประชาชนในพื้นที่มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องอาหารและยา โดยอาสาสมัครคุ้มครองผู้บริโภค ซึ่งเป็น
เยาวชนในโรงเรียน ตัวชี้วัด : |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 160 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 120 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 40 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนากำกับดูแลร้านอาหารแผงลอยและร้านชำในพื้นที่ (2) เพื่อตรวจสอบและเฝ้าระวังด้านการคุ้มครองผู้บริโภค (3) เพื่อแก้ไขปัญหาโฆษณาผลิตภัณฑ์ที่ฝ่าฝืนกฎหมายและเรื่องร้องเรียนในพื้นที่ (4) ประชาชนในพื้นที่มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องอาหารและยา โดยอาสาสมัครคุ้มครองผู้บริโภค ซึ่งเป็น เยาวชนในโรงเรียน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการคุ้มครองผู้บริโภคด้านอาหารและยาในชุมชน ปีงบประมาณ 2560 จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 60-L2492-1-07
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางจิรภาพูลเทพ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......