กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการผลิตภัณฑ์สุขภาพอาหารปลอดภัย ใส่ใจผู้บริโภค ”
ตำบลนาเมืองเพชร อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง



หัวหน้าโครงการ
นางจินดา สินฝาด




ชื่อโครงการ โครงการผลิตภัณฑ์สุขภาพอาหารปลอดภัย ใส่ใจผู้บริโภค

ที่อยู่ ตำบลนาเมืองเพชร อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 61-L1523-03 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2561 ถึง 30 กันยายน 2561

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการผลิตภัณฑ์สุขภาพอาหารปลอดภัย ใส่ใจผู้บริโภค จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาเมืองเพชร อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาเมืองเพชร ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการผลิตภัณฑ์สุขภาพอาหารปลอดภัย ใส่ใจผู้บริโภค



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการผลิตภัณฑ์สุขภาพอาหารปลอดภัย ใส่ใจผู้บริโภค " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาเมืองเพชร อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 61-L1523-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 26,218.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาเมืองเพชร เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

"กระทรวงสาธารณสุข มุ่งสร้างคนไทยให้มีสุขภาพแข็งแรง"อันเป็นนโยบายเชิงรุก ที่มุ่งเน้นในการกระตุ้นให้ประชาชน หันมาเอาใจใส่ดูแลสุขภาพของตัวเอง การที่จะมีสุขภาพที่ดี ปัจจัยหลักที่สำคัญที่สุดอีกประการหนึ่ง นั้นคือ ผลิตภัณฑ์สุขภาพและอาหารที่บริโภค จะต้องเป็นอาหารที่สะอาด ปลอดภัย และไร้สารพิษปนเปื้อน แม้ว่ากระทรวงสาธารณสุข โดยสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา จะได้เร่งรัดดำเนินการขึ้นทะเบียนผลิตภัณฑ์สุขภาพ อาหาร และยา ควบคุม ประชาสัมพันธ์ รวมทั้งดำเนินการตรวจจับอย่างเข้มงวดเพียงใดก็ตาม ก็ยังพบว่ายังมีอาหารหลายประเภท และเป็นจำนวนมากในท้องตลาดที่กระบวนการผลิต การขนส่ง การเก็บรักษาไม่ถูกต้องตามหลักวิชาการ และ อันตรายที่ร้ายแรงยิ่งกว่าความไม่สะอาดของอาหารเหล่านั้น มาจากมีสารปนเปื้อนในอาหารหลายประเภท เช่น สารฟอกขาว สารกันรา สารฟอร์มาลีน ยาฆ่าแมลง และน้ำมันทอดซ้ำ นอกจากนี้ยังพบว่าผลิตภัณฑ์สุขภาพ เช่น เครื่องสำอาง ยา มีการผสมสารต้องห้ามในผลิตภัณฑ์ ซึ่งทำให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพในระยะยาวได้
      การดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านสาธารณสุขในรอบปีที่ผ่านมา ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนาเมืองเพชร จากการสุ่มสำรวจร้านขายของชำและตลาดนัดนาเมืองเพชร พบว่าเครื่องสำอางที่มีการผสมสารปรอท จำนวน 2 ตัวอย่าง มีการใช้น้ำมันทอดซ้ำและสารกันราในสารอาหารบางชนิด โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนาเมืองเพชรได้ตระหนักและเห็นความสำคัญดังกล่าวจึงได้นำเสนอข้อมูลต่อกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลนาเมืองเพชร และมีมติให้จัดทำโครงการนี้ขึ้นเพื่อเป็นการกระตุ้นผู้บริโภค ผู้ที่เกี่ยวข้องให้มีความตื่นตัว มีความรู้ที่ถูกต้องเพื่อให้ได้รับผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ปลอดภัย เป็นธรรมและเป็นการพัฒนาสร้างความร่วมมือของอาสาสมัคร องค์กรชุมชน นักเรียนและประชาชนให้เข้ามามีส่วนร่วม ดำเนินการภายใต้กระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน สามารถตรวจสอบผลิตภัณฑ์สุขภาพและอาหารได้ พร้อมทั้งนำความรู้ไปถ่ายทอดในชุมชนอย่างต่อเนื่องและทั่วถึง และมีความเข้มแข็งทางสังคมต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. (๑) เพื่อปลูกฝังให้ อสม./แกนนำ/นักเรียน มีความรู้ ตระหนักถึงความปลอดภัยในผลิตภัณฑ์สุขภาพและอาหาร สามารถตรวจสอบตัวอย่าง เฝ้าระวังผลิตภัณฑ์สุขภาพ อาหารในชุมชนและโรงเรียนให้ปลอดภัย (2) เพื่อให้ชุมชนมีการพัฒนาเครือข่ายเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์สุขภา

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1. อบรมเชิงปฏิบัติการ แก่ แกนนำ/อสม./นักเรียน/ผู้ประกอบการร้านค้า
  2. กิจกรรมที่ 2. ตรวจสอบตัวอย่างผลิตภัณฑ์สุขภาพและอาหารภายในชุมชนเชิงปฏิบัติการ โดยกลุ่มเครือข่ายเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์สุขภาพของชุมชน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 125
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ชุมชนตระหนักถึงความปลอดภัยในการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์สุขภาพ มีการเฝ้าระวังตรวจสอบผลิตภัณฑ์สุขภาพอาหาร ทำให้ชุมชนได้รับผลิตภัณฑ์สุขภาพอาหารที่ปลอดภัย เป็นธรรมและเป็นการพัฒนาสร้างความร่วมมือของอาสาสมัคร องค์กรชุมชน นักเรียนและประชาชนให้เข้ามามีส่วนร่วมดำเนินการภายใต้กระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน การนำความรู้ไปถ่ายทอดในชุมชนอย่างต่อเนื่องและทั่วถึง และมีความเข้มแข็งทางสังคมต่อไป


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 (๑) เพื่อปลูกฝังให้ อสม./แกนนำ/นักเรียน มีความรู้ ตระหนักถึงความปลอดภัยในผลิตภัณฑ์สุขภาพและอาหาร สามารถตรวจสอบตัวอย่าง เฝ้าระวังผลิตภัณฑ์สุขภาพ อาหารในชุมชนและโรงเรียนให้ปลอดภัย (2) เพื่อให้ชุมชนมีการพัฒนาเครือข่ายเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์สุขภา
ตัวชี้วัด : (๑) อาหารสดและอาหารแปรรูปมีความปลอดภัยมากกว่าร้อยละ 75 (๒) ผลิตภัณฑ์สุขภาพมีความปลอดภัยมากกว่าร้อยละ 96
125.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 125
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 125
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1)              (๑) เพื่อปลูกฝังให้ อสม./แกนนำ/นักเรียน มีความรู้ ตระหนักถึงความปลอดภัยในผลิตภัณฑ์สุขภาพและอาหาร สามารถตรวจสอบตัวอย่าง เฝ้าระวังผลิตภัณฑ์สุขภาพ อาหารในชุมชนและโรงเรียนให้ปลอดภัย                (2) เพื่อให้ชุมชนมีการพัฒนาเครือข่ายเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์สุขภา

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1. อบรมเชิงปฏิบัติการ แก่ แกนนำ/อสม./นักเรียน/ผู้ประกอบการร้านค้า (2) กิจกรรมที่ 2. ตรวจสอบตัวอย่างผลิตภัณฑ์สุขภาพและอาหารภายในชุมชนเชิงปฏิบัติการ โดยกลุ่มเครือข่ายเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์สุขภาพของชุมชน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการผลิตภัณฑ์สุขภาพอาหารปลอดภัย ใส่ใจผู้บริโภค จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 61-L1523-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางจินดา สินฝาด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด