กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะรุบี


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพตำบลกะรุบี ”

ตำบลกะรุบี อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางยุพิน สาเมาะ นางสะปีนะ ซีบะ

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพตำบลกะรุบี

ที่อยู่ ตำบลกะรุบี อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 61-L2971-02-10 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 สิงหาคม 2561 ถึง 28 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพตำบลกะรุบี จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกะรุบี อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะรุบี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพตำบลกะรุบี



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพตำบลกะรุบี " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกะรุบี อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 61-L2971-02-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 สิงหาคม 2561 - 28 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะรุบี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากสภาวะสุขภาพของประชาชนอำเภอกะพ้อมีแนวโน้มเจ็บป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อหรือโรคเรื้อรังสูงขึ้น โดยเฉพาะโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงซึ่งเป็นโรคเรื้อรังที่สำคัญ ซึ่งเกิดจากพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม เช่น การรับประทานอาหารที่ไม่ถูกต้อง การขาดการออกกำลังกายและปัญหาสุขภาพจิต ซึ่งจะนำไปสู่ภาวะแทรกซ้อนด้วยโรคหลอดเลือดสมอง โรคหลอดเลือดหัวใจ และภาวะไตวายเรื้อรังมากขึ้น ซึ่งมีผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วย และการมีส่วนร่วมในการดำเนินงานของภาคีเครือข่ายในการจัดการดูแลสุขภาพของผู้ป่วยในกลุ่ม ในการส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของประชาชน จึงมีความจำเป็นที่ต้องดำเนินการอย่างเร่งด่วน และต่อเนื่อง เพื่อลดปัญหาจากการเจ็บป่วยโรคดังกล่าว เนื่องจากประชาชนในพื้นที่ มีความเชื่อเรื่องการเจ็บป่วยเป็นบททดสอบที่พระเจ้าให้มา ความตระหนักรู้เกี่ยวกับเรื่องสุขภาพเป็นเรื่องไกลตัว และมีพฤติกรรมบริโภคอาหารแบบแกงกะทิ อาหารรสมัน หวาน เค็มจัด ประกอบกับกระแสนิยมที่เน้นความสะดวกสบาย ทำให้แม่บ้านปัจจุบันรับประทานอาหารสำเร็จรูป จากร้านค้า ตลาดนัดซึ่งจากการสำรวจ พบว่าพฤติกรรมสุขภาพของประชาชนในอำเภอกะพ้อส่วนใหญ่อยู่ในระดับไม่ดี คิดเป็นร้อยละ 57.30 อยู่ในระดับพอใช้ ร้อยละ 41.58 และอยู่ในระดับดีมากเพียงแค่ ร้อยละ 1.12
      ด้วยเครือข่ายสุขภาพในชุมชนมีความเข้มแข็ง และมีความร่วมมือในการดำเนินงานทุกภาคส่วน เช่น ส่วนราชการ ไม่ว่าจะเป็นครู ปกครอง แกนนำในชุมชน เช่น กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ผู้นำศาสนา ซึ่งเป็นต้นแบบในการดูแลสุขภาพที่ดี จึงเล็งเห็นการจัดโครงการครั้งนี้อย่างต่อเนื่อง เพื่อเป็นการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชุนในระยะยาวต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้เป็นหมู่บ้านต้นแบบที่ประชาชนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอสัปดาห์ละ 3วันๆละ30 นาที
  2. เพื่อให้ประชาชนในหมู่บ้านต้นแบบ มีพฤติกรรมการออกกำลังกายสม่ำเสมอสัปดาห์ละ 3 วันๆละอย่างน้อย 30 นาที
  3. เพื่อให้ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในกระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลังกาย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน
  2. ส่งเสริมการออกกำลังกายในชุมชุน โดยการรำไม้พอง สัปดาห์ละ 3 ครั้ง โดยมีอสม.เป็นแกนนำ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 190
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.คนในชุมชนมีความรู้ และความตระหนักเกี่ยวการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อลดโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน การออกกำลังกาย เป็นต้น 2.ประชาชนและกลุ่มเสี่ยงในชุมชนตระหนักถึงภยันตรายของโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน ซึ่งจะมีการตรวจคัดกรองทุกปี และกลุ่มเสี่ยงตามหลัก 3อ 2ส มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างต่อเนื่อง 3.สามี ญาติ และอสม. ตระหนักรู้เกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน
4.ชุมชนตระหนักรู้เกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน สนับสนุนให้ทุกคนคัดกรองต่อโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงทุกปี


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน

วันที่ 15 มกราคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

1.ให้ความรู้เรื่องเกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารลดหวานมันเค็ม ออกกำลังกายอย่าฃสม่ำเสมออย่างน้อยสัปดาห์ละ3 วัน ๆละ30นาที หลีกเลี่ยงปัจจุยที่ทำให้มีภาวะเครียด แลกเปลี่ยนเรียนรู้กลุ่มเสี่ยงเกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม รวมทั้งติดตามระดับ ความดันโลหิตสูง เจาะน้ำตาลในเลือด ชั่งน้ำหนัก วัดรอบเอว 2.ปรับพฤติกรรมดารบริโภคอาหารเน้นการปลูกพืช/ผักปลอดสารพิษไว้บริโภคในครัวเรือน การออกออกกำลังกายของคนในชุมชน ที่ป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน และกลุ่มที่กำลังจะเป็นกลุ่มป่วย และกลุ่มเสี่ยงต่อโรคความดันเบาหวาน โดยให้ทุกคนเข้ามามีส่วนร่วมในการปรับพฤติกรรมการบริโภคอาหารและการออกกำลังของตนเองตามความเหมาะสม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมโครงการมีสุขภาพดีขึ้น ความดันโลหิตลดลง คุมน้ำตาลในเลือดได้ ไม่มีกลุ่มผู้ป่วยเพิ่มขึ้น

 

190 0

2. ส่งเสริมการออกกำลังกายในชุมชุน โดยการรำไม้พอง สัปดาห์ละ 3 ครั้ง โดยมีอสม.เป็นแกนนำ

วันที่ 1 เมษายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

ออกกำลังกาย รำไม้พองครั้งละ 1 ชั่วโมง สัปดาห์ละ3ครั้วง เริ่ม 16.30-17.30 น.

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชาชนมีสุขภาพดี ผู้ป่วยความดันลดลง ผู้ป่วยเบาหวานไม่มีเพิ่มจากเดิม

 

190 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ผู้เข้าร่วมโครงการมีสุขภาพที่ดีขึ้น ความดันโลหิตลดลง สามารถควบคุมเบาหวานได้ ไม่มีกลุ่มเสี่ยงเพิ่ม

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้เป็นหมู่บ้านต้นแบบที่ประชาชนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอสัปดาห์ละ 3วันๆละ30 นาที
ตัวชี้วัด : มีหมู่บ้านต้นแบบที่ประชาชนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวน 5 หมู่บ้าน
50.00 100.00

มีหมู่บ้านต้นแบบ ประชาชนให้ความร่วมมือในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 5หมู่บ้าน

2 เพื่อให้ประชาชนในหมู่บ้านต้นแบบ มีพฤติกรรมการออกกำลังกายสม่ำเสมอสัปดาห์ละ 3 วันๆละอย่างน้อย 30 นาที
ตัวชี้วัด : ประชาชนในหมู่บ้านต้นแบบมีการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอสัปดาห์ละ 3 วันๆละ 30 นาที ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50
50.00 100.00

ประชาชนออกกำลังกายสม่าเสมอ

3 เพื่อให้ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในกระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลังกาย
ตัวชี้วัด : ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในกระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลังกายร้อยละ 50
50.00 100.00

ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในกระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 190 190
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 0
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 190 190
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เป็นหมู่บ้านต้นแบบที่ประชาชนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอสัปดาห์ละ 3วันๆละ30 นาที (2) เพื่อให้ประชาชนในหมู่บ้านต้นแบบ มีพฤติกรรมการออกกำลังกายสม่ำเสมอสัปดาห์ละ 3 วันๆละอย่างน้อย 30 นาที (3) เพื่อให้ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในกระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลังกาย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน (2) ส่งเสริมการออกกำลังกายในชุมชุน โดยการรำไม้พอง สัปดาห์ละ 3 ครั้ง โดยมีอสม.เป็นแกนนำ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

สถานที่สำหรับการออกกำลังกายไม่สะดวก ต้องไปใช้สนามกีฬาของโรงเรียนหรือวมัสยิด ซึ่งไม่เหมาะสมกับกิจกรรม

การออกกำลังกายต้องยืดเส้นยืดสาย บางครั้ฃงสถานที่มัสยิดไม่เหมาะสมกับการกระทำดังกล่าว

ควรมีสถานที่ออกกำลังกายในชุมชนโดยเฉพาะ เพื่อความสะดวกในการออกกำลังกาย


โครงการส่งเสริมสุขภาพตำบลกะรุบี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 61-L2971-02-10

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางยุพิน สาเมาะ นางสะปีนะ ซีบะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด