กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะรุบี


“ โครงการสุขภาพดี ชีวิตดี ลด ละ เลิก พฤติกรรมเสี่ยงโรคความดัน/เบาหวาน ”

ตำบลกะรุบี อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นายอับดุลการี วานิ นายมะนาเส สามะ

ชื่อโครงการ โครงการสุขภาพดี ชีวิตดี ลด ละ เลิก พฤติกรรมเสี่ยงโรคความดัน/เบาหวาน

ที่อยู่ ตำบลกะรุบี อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 61-L2971-02-11 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 สิงหาคม 2561 ถึง 28 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสุขภาพดี ชีวิตดี ลด ละ เลิก พฤติกรรมเสี่ยงโรคความดัน/เบาหวาน จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกะรุบี อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะรุบี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสุขภาพดี ชีวิตดี ลด ละ เลิก พฤติกรรมเสี่ยงโรคความดัน/เบาหวาน



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้และเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการรับประทานอาหารที่ดี ไม่เป็นโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน (2) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ที่ถูกต้องเกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคตามหลัก 3 อ 2 ส (3) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีสุขภาพดีขึ้น (4) เพื่อลดการเจ็บป่วยที่เกิดจากภาวะแทรกซ้อนจากโรคที่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่ถูกต้อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมการส่งเสริมการดูแลสุขภาพกลุ่มเสี่ยงโรคความดันเบาหวาน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันสาเหตุการตายอันดับแรกๆของประเทศไทย คือ โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง และโรคมะเร็ง (พนิดา วสุธาพิทักษ์, 2555, รุ่งทิวา  ชอบชื่น, 2556.) หากผู้ป่วยไม่สามารถควบคุมโรคได้ ก็จะส่งผลให้เกิดปัญหาสุขภาพที่รุนแรงตามมา ถึงขั้นพิการและเสียชีวิตได้ และต้องเสียค่าใช้จ่ายสูงมาก ซึ่งโรคเหล่านี้เกิดจากการมีพฤติกรรมในการดำเนินชีวิตของบุคคลขาดความสมดุล เช่น การรับประทานอาหารไขมันสูง อาหารรสหวานจัดและเค็มจัด ไม่รับประทานผัก ผลไม้ ไม่ออกกำลังกาย การใช้ชีวิตที่สะดวกสบายเกินไป เป็นต้น นอกจากนั้นยังมีการระบุว่าความเครียดในชีวิต ยังเป็นปัจจัยร่วมที่ทำให้เกิดโรคเรื้อรังได้ คนที่มีภาวะเสี่ยงต่อโรคเรื้อรังคือ ผู้มีภาวะอ้วน  ผู้มีคลอเรสเตอรอลสูง (พนิดา วสุธาพิทักษ์, 2555)  ในแต่ละปี ทุกๆ ประเทศได้ใช้จ่ายเงินจำนวนมากมหาศาลเพื่อบำรุงรักษาสุขภาพของประชาชน ปรับปรุงส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันอุบัติภัยอันตรายต่างๆ รวมทั้งป้องกันโรคติดเชื้อที่ก่อให้เกิดการเจ็บป่วย นับเป็นส่วนหนึ่งของการพัฒนาคุณภาพชีวิตของแต่ละบุคคล  ปัจจุบันกระแสของการสร้างเสริมสุขภาพกำลังเป็นที่กล่าวถึงในประเทศต่างๆ ทั่วโลก รวมทั้งองค์กรระหว่างประเทศเกี่ยวกับสุขภาพได้ให้ความสำคัญในประเด็นดังกล่าวเป็นอย่างมาก เป็นประเด็นการเคลื่อนไหวทางสาธารณสุขที่สำคัญ และถือได้ว่าเป็นจุดหักเหหรือการเปลี่ยนแปลงแนวคิดเกี่ยวกับกับสุขภาพ จากจุดเน้นของการบริการแบบ “ตั้งรับ” หรือ “โรงซ่อมสุขภาพ” ซึ่งเน้นการรักษาพยาบาลเมื่อเจ็บป่วยแล้วมาเน้นการบริการ “เชิงรุก” หรือ “การสร้างเสริมสุขภาพ” ซึ่งเป็นการสร้างเสริมสุขภาพ เพื่อป้องกันมิให้เกิดการเจ็บป่วย เนื่องจากที่ผ่านมาพบว่าระบบที่มุ่งการซ่อมสุขภาพเป็นระบบที่มีความสิ้นเปลืองต้นทุน ค่าใช้จ่ายสูง เกิดผลกระทบทั้งคนไข้และสังคม ในส่วนของคนไข้นอกจากจะต้องเสียค่ารักษาพยาบาลแล้วยังต้องสูญเสียรายได้เนื่องจากขาดงานแล้วอาจมีปัญหาสุขภาพจิต  ในส่วนของสังคมส่วนรวมต้องแบกรับภาระความเจ็บป่วยเกินความจำเป็น ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการเลี้ยงดูผู้เจ็บป่วย พิการ เสียทรัพยากรบุคคลที่มีคุณค่า เสียโอกาสในการนำทรัพยากรไปใช้ในด้านต่างๆ เนื่องจากต้องนำมาใช้ในการลงทุนสร้างระบบบริการเพื่อรองรับความเจ็บป่วย การทำให้สุขภาพดีจะทำให้ระบบเสียค่าใช้จ่ายน้อยกว่าการรอรักษาและฟื้นฟูเมื่อสุขภาพเสียแล้ว ระบบสุขภาพจึงควรมุ่งเน้นที่การ “สร้างสุขภาพ”
จากการดำเนินงานด้านการสร้างสุขภาพในกลุ่ม ผู้รับบริการ พบว่า ผู้รับบริการส่วนใหญ่มีพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่ถูกต้อง มีภาวะอ้วนลงพุง ชอบรับประมานอาหารหวาน มัน เค็ม อีกทั้งไม่ได้    ออกกำลังกาย และพบว่ามีการเจ็บป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคไขมันในเลือด โรคมะเร็ง โรคหัวใจ ซึ่งบ่งบอกได้ว่า กลุ่มดังกล่าวขาดความรู้ด้านการดุแลสุขภาพที่ถูกต้องเพื่อลดโรค และลดภาวะเสี่ยงต่างๆที่จะตามมา ดังนั้น อาสาสมัครสาธาณสุขบ้านบาโงยือแบ็ง จึงได้จัดทำโครงการ  ขึ้น เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่ มีความรู้ที่ถูกต้องในการดูแลสุขภาพของตนเอง อีกทั้งสามารถลดภาระค่าใช้จ่ายในการดูแลสุขภาพจากการเจ็บป่วยจากโรคหรือภาวะเสี่ยงของโรคที่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่ถูกต้อง และอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุขต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้และเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการรับประทานอาหารที่ดี ไม่เป็นโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน
  2. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ที่ถูกต้องเกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคตามหลัก 3 อ 2 ส
  3. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีสุขภาพดีขึ้น
  4. เพื่อลดการเจ็บป่วยที่เกิดจากภาวะแทรกซ้อนจากโรคที่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่ถูกต้อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดอบรมการส่งเสริมการดูแลสุขภาพกลุ่มเสี่ยงโรคความดันเบาหวาน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

-ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานลดลง -ประชาชนในชุมชนมีสุขภาพดีขึ้น


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดอบรมการส่งเสริมการดูแลสุขภาพกลุ่มเสี่ยงโรคความดันเบาหวาน

วันที่ 16 สิงหาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

  1. จัดประชุมเพื่อรับสมาชิกเข้าร่วมโครงการ อย่างน้อย 50 ครัวเรือน
  2. ลงทะเบียน
  3. จัดอบรมการส่งเสริมการดูแลสุขภาพกลุ่มเสี่ยงโรคความดันเบาหวาน แก่สมาชิก

- การตรวจสุขภาพพื้นฐานแก่สมาชิก ก่อนและหลัง การเข้าร่วมโครงการ - เฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพของประชาชน ด้านการออกกำลังกาย และการบริโภคพืชผัก ผลไม้และอาหารที่มีไขมัน อย่างต่อเนื่องทุกเดือน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ที่ถูกต้องเพิ่มขึ้น
  2. เกิดการปรับเปลี่ยนการรับประทานอาหาร
    3.กลุ่มเป้าหมาย มีสุขภาพที่ดีขึ้น
    4.ลดการเจ็บป่วยที่เกิดจากภาวะแทรกซ้อนจากโรคที่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่ถูกต้อง

 

50 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  1. กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ที่ถูกต้องเพิ่มขึ้น
  2. เกิดการปรับเปลี่ยนการรับประทานอาหาร 3.กลุ่มเป้าหมาย มีสุขภาพที่ดีขึ้น
    4.ลดการเจ็บป่วยที่เกิดจากภาวะแทรกซ้อนจากโรคที่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่ถูกต้อง

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้และเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการรับประทานอาหารที่ดี ไม่เป็นโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ที่ถูกต้องหลังการอบรมเพิ่มขึ้นร้อยละ 80
80.00 80.00

กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ที่ถูกต้องหลังการอบรมเพิ่มขึ้น

2 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ที่ถูกต้องเกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคตามหลัก 3 อ 2 ส
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายสามารถลดการรับประทานอาหารประเภทของหวาน แกงกะทิ บูดู หลังการอบรมร้อยละ 80
80.00 80.00

กลุ่มเป้าหมายมีพฤติกรรมการรับประทานอาหารที่ดีขึ้น

3 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีสุขภาพดีขึ้น
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายมีค่า BMI ความดันโลหิตและน้ำตาลในเลือดลดลงหลังการอบรมร้อยละ 80 มีสุขภาพที่ดี ร้อยละ 80
80.00 80.00

ผลการตรวจคัดกรองหลังการเข้ารับการอบรมกลุ่มเป้ามีค่า BMI ความดันโลหิตและน้ำตาลในเลือดลดลง มีสุขภาพดีขึ้น

4 เพื่อลดการเจ็บป่วยที่เกิดจากภาวะแทรกซ้อนจากโรคที่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ลดการเจ็บป่วยที่เกิดจากภาวะแทรกซ้อนจากโรคที่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่ถูกต้อง ร้อยละ 80
80.00 80.00

ลดการเจ็บป่วยที่เกิดจากภาวะแทรกซ้อนจากโรคที่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่ถูกต้อง

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้และเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการรับประทานอาหารที่ดี ไม่เป็นโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน (2) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ที่ถูกต้องเกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคตามหลัก 3 อ 2 ส (3) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีสุขภาพดีขึ้น (4) เพื่อลดการเจ็บป่วยที่เกิดจากภาวะแทรกซ้อนจากโรคที่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่ถูกต้อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมการส่งเสริมการดูแลสุขภาพกลุ่มเสี่ยงโรคความดันเบาหวาน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการสุขภาพดี ชีวิตดี ลด ละ เลิก พฤติกรรมเสี่ยงโรคความดัน/เบาหวาน จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 61-L2971-02-11

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอับดุลการี วานิ นายมะนาเส สามะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด