กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เปาะเส้ง


“ โครงการป้องกันวัณโรค ”

ตำบลเปาะเส้ง อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นายอนุวัฒน์ ปารามะ ประธานอสม.ต.เปาะเส้ง

ชื่อโครงการ โครงการป้องกันวัณโรค

ที่อยู่ ตำบลเปาะเส้ง อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 สิงหาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องกันวัณโรค จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเปาะเส้ง อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เปาะเส้ง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันวัณโรค



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการป้องกันวัณโรค " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเปาะเส้ง อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 สิงหาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 23,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เปาะเส้ง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เนื่องด้วยปัจจุบันนี้สถานการณ์ของโรควัณโรคค่อนข้างทวีความรุนแรงมากขึ้น อันเนื่องมาจากอัตราป่วยของผู้ติดเชื้อ HIV ที่เพิ่มมากขึ้น ซึ่งวัณโรคจัดเป็นโรคติดเชื้อฉวยโอกาสที่เป็นอันดับหนึ่งที่ทำให้ผู้ติดเชื้อ HIV ป่วยได้เร็วที่สุด และยังเป็นอันตรายอย่างยิ่งทั้งในด้านการแพร่กระจายเชื้อสู่ชุมชน และอันตรายต่อสุขภาพของผู้ติดเชื้อ HIV เอง ทำให้อัตราการเสียชีวิตเนื่องจากการติดเชื้อวัณโรคและป่วยเป็นวัณโรค เพิ่มขึ้นทุกๆปี ถึงแม้ว่าผู้ป่วยAIDS รายนั่นจะได้รับการรักษาด้วยยาต้านไวรัสอยู่ก็ตามก็ยังมิสามารถป้องกันการติดเชื้อวัณโรคได้เลย นอกจากนี้แล้วสำหรับผู้ที่เคยป่วยเป็นวัณโรคมาก่อน เมื่อยังมีภาวะเสี่ยงที่ต้องสัมผัสผู้ติดเชื้อวัณโรคอยู่บ่อยๆโอกาสที่จะกลับเป็นวัณโรคได้อีกสูงมาก ไม่ว่าจะเป็นบุคคลทั่วไปหรือผู้ติดเชื้อ HIV ก็ตาม ดังนั้นการค้นหาผู้ป่วยรายใหม่ในชุมชน จึงมีความสำคัญเป็นอย่างยิ่งเนื่องจากจะทำให้เราได้ค้นพบผู้ป่วยวัณโรคที่ยังไม่ทราบว่าตัวเอง ติดเชื้อวัณโรคอยู่แล้วและพร้อมที่จะแพร่กระจายเชื้อไปสู่ผู้อื่นได้ตลอดเวลา ซึ่งเข้าได้กับการศึกษาที่พบว่า ผู้ที่ป่วยเป็นวัณโรคและไมได้รับการรักษา จะแพร่กระจายเชื้อให้ผู้ได้ ประมาณ 15-20 คน ต่อปี ซึ่งหมายความถึงหากชุมชนใดมีผู้ป่วยวัณโรคอาศัยอยู่ร่วมชุมชนหลายคน โดยที่ยังมิได้รับการรักษาก็จะทำให้ชุมชนนั่นมีความเสี่ยงต่อการระบาดของโรควัณโรคมากขึ้น สถานการณ์โรควัณโรคในจังหวัดยะลา น่าเป็นห่วงพบผู้ป่วยส่วนใหญ่อยู่ในวัยทำงาน และปัจจุบันสถานการณ์โรควัณโรคในจังหวัดยะลา ยังน่าเป็นห่วงโดยพบว่ามีผู้ป่วยเพิ่มขึ้นทุกปี และยังไม่มีแนวโน้มลดลง ซึ่งขณะนี้พบผู้ป่วยที่ป่วยเป็นโรคดังกล่าวในจังหวัดยะลาจำนวน 805 คน ส่วนใหญ่พบในพื้นที่อำเภอเมืองยะลา ผู้ป่วยส่วนใหญ่อยู่ในวัยทำงาน(ฐานข้อมูลจังหวัดชายแดนภาคใต้) สำหรับตำบลเปาะเส้ง ในปีงบประมาณ 2560 ที่ผ่านมา ยังพบผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ จำนวน 3 รายและกำลังรักษา 2 ราย การค้นหาผู้ป่วยวัณโรคในชุมชนจึงเป็นการตัดวงจรการแพร่กระจายเชื้อวัณโรคได้เป็นอย่างดีและยังทำให้ผู้ที่ติดเชื้อวัณโรคได้รับการขึ้นทะเบียนรักษาด้วยยาวัณโรคอย่างถูกต้องและถูกวิธีตลอดการรักษาจนหายและใช้ชีวิตร่วมกับอื่นในชุมชนได้อย่างเป็นปกติสุข โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเปาะเส้ง จึงได้จัดทำโครงการแก้ไขปัญหาวัณโรค ปี 2561 ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 180
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.ชุมชนสามารถป้องกันการติดต่อของโรควัณโรคได้ 2.การค้นหากลุ่มเสี่ยงวัณโรคมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น 3.ลดการติดต่อของโรคระหว่างผู้ป่วยสัมผัสร่วมบ้าน 4.ลดอัตราป่วยของผู้ป่วยวัณโรครายใหม่


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 180
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 180
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการป้องกันวัณโรค จังหวัด ยะลา

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายอนุวัฒน์ ปารามะ ประธานอสม.ต.เปาะเส้ง )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด