กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาโงยซิแน


“ โครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาพ ด้วยภูมิปัญญาไทย ปี 2561 ”

ตำบลบาโงยซิแน อำเภอยะหา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางรอฮานี ดือลง

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาพ ด้วยภูมิปัญญาไทย ปี 2561

ที่อยู่ ตำบลบาโงยซิแน อำเภอยะหา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 61-L4147-2-09 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาพ ด้วยภูมิปัญญาไทย ปี 2561 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบาโงยซิแน อำเภอยะหา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาโงยซิแน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาพ ด้วยภูมิปัญญาไทย ปี 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาพ ด้วยภูมิปัญญาไทย ปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบาโงยซิแน อำเภอยะหา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 61-L4147-2-09 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 28,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาโงยซิแน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

พืชสมุนไพรเป็นสิ่งที่อยู่คู่คนไทยมานับพันปีแต่เมื่อการแผนปัจจุบันเริ่มเข้ามามีบทบาทในบ้านเรา สรรพคุณและคุณค่าของสมุนไพรไทยอันเป็นสิ่งที่เรียกได้ว่า ภูมิปัญญาโบราณก็เริ่มถูกบดบังไปเรื่อย ๆ และถูกทอดทิ้งไปในที่สุดซึ่งความเป็นจริงคนส่วนใหญ่ก็พอรู้กันว่า สมุนไพรไทยเป็นสิ่งที่มีคุณค่าใช้ประโยชน์ได้จริง และใช้ได้อย่างกว้างขวางแต่เป็นเพราะเราใช้วิธีรักษาโรคแผนใหม่มานานมากจ นวิชาการแพทย์แผนโบราณที่มีสมุนไพรเป็นยาหลักถูกลืมจนต่อไม่ติด ทำให้เยาวชนรุ่นหลัง ๆ รู้จักสมุนไพรไทยได้น้อยมากและแทบจะไม่รู้จักเลยทั้ง ๆ ที่สมุนไพรเหล่านั้นอยู่ใกล้ๆตัวเรานี้เอง และสามารถนำมาดูแลสุขภาพตั้งแต่การป้องกันการเกิดโรค รวมถึงการรักษาได้

    จากการสำรวจข้อมูล และรายงานการจัดเวทีประชาคมตำบลบาโงยซิแน อ.ยะหา จ.ยะลา พบว่าประชาชนมีความต้องการที่จะเรียนรู้ในประโยชน์ และการนำใช้ของสมุนไพร โดยเฉพาะสมุนไพรในครัวเรือน เพื่อนำมาใช้ในชีวิตประจำวัน และพบว่า ประชาชนที่ไปรับบริการ ที่ รพร.ยะหา และ รพ.สต.บาโงยซิแน ในการรักษา จะได้รับยาสมุนไพรในการรักษาด้วย โดยยาแก้การปวดเมื่อย ปวดกล้ามเนื้อ จะใช้น้ำมันไพลในการทา เพื่อการรักษาและบรรเทา และมักมีปริมาณไม่เพียงพอ การนวดด้วยตนเอง โดยในปี 2560 มารักษา ที่ รพ.สต.บาโงยซิแนด้วยโรคปวดกล้ามเนื้อ มีจำนวน 1,270 ราย คิดเป็นร้อยละ 15.50 ของผู้ป่วยที่มารักษาทั้งหมดโดยใช้น้ำมันไพลในการรักษา 1,749 ขวด และมีปริมาณน้ำมันไพลไม่เพียงพอในการให้บริการ

    กลุ่มพัฒนาเครือข่ายสตรี ตำบลบาโงยซิแน และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบาโงยซิแน เห็นความสำคัญของการใช้และส่งเสริมการดูแลสุขภาพ และเพื่อให้ประชาชนมีทางเลือกในการบริการที่หลากหลาย  นอกเหนือจากการแพทย์แผนปัจจุบัน การแพทย์แผนไทยก็เป็นอีกทางเลือกหนึ่ง และจะทำให้เกิดการพัฒนาแพทย์แผนไทยในพื้นที่ มีการส่งเสริมการปลูกสมุนไพรและใช้สมุนไพรในพื้นที่ มีนวัตกรรมด้านแพทย์แผนไทยในชุมชน ทำให้ประชาชนสามารถพึ่งตนเองได้อย่างยั่งยืนสอดคล้องกับวิถีชีวิตของชุมชน

    ดังนั้น ทางกลุ่มพัฒนาเครือข่ายสตรี ตำบลบาโงยซิแน  ร่วมกับ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบาโงยซิแน ได้เล็งเห็นความสำคัญดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาพ ด้วยภูมิปัญญาไทย ปี 2561

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้กลุ่มสตรีมีความรู้ในเรื่อง สมุนไพรที่ใช้ในการผลิตน้ำมันไพล
  2. 2. เพื่อให้กลุ่มสตรีสามารถผลิตน้ำมันไพลได้
  3. 3. เพื่อส่งเสริมการใช้สมุนไพร ในการป้องกัน และรักษาพยาบาลเบื้องต้น
  4. 4. เพื่อให้ผู้เข้าอบรม รู้จักวิธีการที่จะบรรเทาความปวดเมื่อย ความเครียดของตนเองและคนใกล้ชิดได้ด้วยท่าฤาษีดัดตน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. การอบรมเชิงปฏิบัติการ
  2. การส่งเสริมการปลูกและใช้สมุนไพร

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. กลุ่มสตรีที่เข้ารับการอบรม มีความรู้ในเรื่อง การผลิตน้ำมันไพล ในระดับดี
  2. กลุ่มสตรีสามารถผลิตน้ำมันไพลใช้เองได้
  3. กลุ่มสตรีมีการส่งเสริมการใช้สมุนไพร ในการป้องกัน และรักษาพยาบาลเบื้องต้น
  4. ผู้เข้าอบรม รู้จักวิธีการที่จะบรรเทาความปวดเมื่อย ความตึงเครียดของตนเองและคนใกล้ชิดด้วยท่าฤาษีดัดตน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้กลุ่มสตรีมีความรู้ในเรื่อง สมุนไพรที่ใช้ในการผลิตน้ำมันไพล
ตัวชี้วัด : กลุ่มสตรีมีความรู้ในเรื่องสมุนไพรที่ใช้ในการผลิตน้ำมันไพล ในระดับดี ร้อยละ 80
80.00

 

2 2. เพื่อให้กลุ่มสตรีสามารถผลิตน้ำมันไพลได้
ตัวชี้วัด : กลุ่มสตรีที่ผ่านการอบรม สามารถผลิตน้ำมันไพลได้ ร้อยละ 100
100.00

 

3 3. เพื่อส่งเสริมการใช้สมุนไพร ในการป้องกัน และรักษาพยาบาลเบื้องต้น
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 กลุ่มสตรีที่ผ่านการอบรม มีการใช้น้ำสมุนไพร ในการป้องกัน และส่งเสริมสุขภาพ
80.00

 

4 4. เพื่อให้ผู้เข้าอบรม รู้จักวิธีการที่จะบรรเทาความปวดเมื่อย ความเครียดของตนเองและคนใกล้ชิดได้ด้วยท่าฤาษีดัดตน
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าอบรม รู้จักวิธีการที่จะบรรเทาความปวดเมื่อย ความเครียดของตนเองด้วยท่าฤาษีดัดตน ร้อยละ 80
80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้กลุ่มสตรีมีความรู้ในเรื่อง สมุนไพรที่ใช้ในการผลิตน้ำมันไพล (2) 2. เพื่อให้กลุ่มสตรีสามารถผลิตน้ำมันไพลได้ (3) 3. เพื่อส่งเสริมการใช้สมุนไพร ในการป้องกัน และรักษาพยาบาลเบื้องต้น  (4) 4. เพื่อให้ผู้เข้าอบรม รู้จักวิธีการที่จะบรรเทาความปวดเมื่อย ความเครียดของตนเองและคนใกล้ชิดได้ด้วยท่าฤาษีดัดตน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การอบรมเชิงปฏิบัติการ (2) การส่งเสริมการปลูกและใช้สมุนไพร

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาพ ด้วยภูมิปัญญาไทย ปี 2561 จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 61-L4147-2-09

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางรอฮานี ดือลง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด