กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เปาะเส้ง


“ โครงการปรับชีวิตพิชิตโรค ”

ตำบลเปาะเส้ง อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นายอนุวัฒน์ ปารามะ ประธานอสม.ต.เปาะเส้ง

ชื่อโครงการ โครงการปรับชีวิตพิชิตโรค

ที่อยู่ ตำบลเปาะเส้ง อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 สิงหาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปรับชีวิตพิชิตโรค จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเปาะเส้ง อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เปาะเส้ง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับชีวิตพิชิตโรค



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปรับชีวิตพิชิตโรค " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเปาะเส้ง อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 สิงหาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,310.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เปาะเส้ง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากสภาพปัจจุบันสังคมไทยและสิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไป ส่งผลต่อสุขภาพและความเป็นอยู่ที่ดี หากคนเราไม่เอาใจใส่กับเรื่องพื้นฐานในชีวิตประจำวัน เช่น การสุขาภิบาลและสิ่งแวดล้อมในบ้าน อันได้แก่ ความสะอาด ความเป็นระเบียบเรียบร้อย น้ำดื่มน้ำใช้ที่สะอาดและเพียงพอ การจัดการขยะน้ำเสียรวมทั้งสัตว์หรือแมลงพาหะนำโรค ก็อาจเจ็บป่วยด้วยโรคที่สามารถป้องกันได้ เช่น โรคระบบทางเดินหายใจ โรคระบบทางเดินอาหาร ซึ่งมีอาหารและน้ำเป็นสื่อ และโดยเฉพาะโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ที่เป็นสาเหตุการเสียชีวิตและมีแนวโน้มสูงขึ้น ได้แก่ โรคหัวใจ ความดันโลหิตและโรคเบาหวาน ซึ่งสาเหตุส่วนใหญ่เกิดจากพฤติกรรมของบุคคล ที่มีวิถีชีวิตอยู่ในภาวะเสี่ยงต่อปัญหาสุขภาพ เช่น ความอ้วน ความเครียด ขาดการออกกำลังกาย การบริโภคอาหารไม่ถูกส่วน การดื่มสุรา สูบบุหรี่ รวมถึงพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม ซึ่งล้วนเป็นโรคที่สามารถป้องกันได้ โดยการจัดการด้านการสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพให้ถูกต้องเหมาะสม ได้แก่ ลดการสูบบุหรี่ ดื่มสุรา จัดการอารมณ์ ส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพด้านอาหาร และโภชนาการ ลดอาหารหวาน มัน เค็ม เพิ่มผลไม้ ส่งเสริมการเคลื่อนไหวร่างกาย ควบคุมป้องกันไม่ให้เกิดภาวะโภชนาการเกินหรือโรคอ้วน เพื่อลดปัจจัยเสี่ยง ตลอดจนการสร้างสิ่งแวดล้อมที่ดีเพื่อให้เกิดปัจจัยเอื้อต่อการป้องกัน และควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง จากข้อมูลการคัดกรองสุขภาพโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ของประชาชนจังหวัดยะลา ปี 2560 ได้รับการคัดกรองโรคเบาหวาน จำนวน 156,932 คน และได้รับการ  คัดกรองโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 137,505 คน พบว่า มีกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานจำนวน 8,340 คน คิดเป็นร้อยละ 5.31 กลุ่มเสี่ยงโรคความดันดลหิตสูงจำนวน 24,154 คน คิดเป็นร้อยละ 17.56 อำเภอเมืองยะลา ได้รับการ  คัดกรองโรคเบาหวาน จำนวน 53,833 คน และได้รับการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 47,058 คน พบว่า มีกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานจำนวน 2,093 คน คิดเป็นร้อยละ 3.88 กลุ่มเสี่ยงโรคความดันดลหิตสูงจำนวน 5,574 คนคิดเป็นร้อยละ 11.84 และตำบลเปาะเส้ง ได้รับการคัดกรองโรคเบาหวาน จำนวน 1,661 คน และได้รับการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 1,535 คน พบว่า มีกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน จำนวน 56 คน คิดเป็นร้อยละ 3.37 กลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงจำนวน 467 คน คิดเป็นร้อยละ 30.42 (ข้อมูลจาก รพ.สต.เปาะเส้ง) ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ตำบลเปาะเส้ง ในฐานะเครือข่ายของการขับเคลื่อนงานสาธารณสุขด้านการส่งเสริมสุขภาพและการจัดการสิ่งแวดล้อมให้เอื้ออำนวยต่อการมีสุขภาพดี จึงได้จัดทำโครงการปรับชีวิตพิชิตโรค ตำบลเปาะเส้ง เพื่อให้ประชาชน มีพฤติกรรมที่ดี เหมาะสม ลดอัตราการเกิดโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง และส่งเสริมสมาชิกในครอบครัวช่วยกันปรับปรุงสภาพแวดล้อมภายในและบริเวณบ้านให้ถูกต้อง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 160
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.ประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการคัดกรองสุขภาพโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงไม่น้อยกว่า  ร้อยละ 90 2. ประชากรกลุ่มเสี่ยง มีความรู้และทัศนคติที่เหมาะสมในเรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 3. ประชากรกลุ่มสี่ยง มีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมตามหลัก 3อ.2ส. สามารถดูแลสุขภาพในการป้องกันโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงได้


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 160
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 160
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการปรับชีวิตพิชิตโรค จังหวัด ยะลา

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายอนุวัฒน์ ปารามะ ประธานอสม.ต.เปาะเส้ง )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด