กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางสัก


“ โครงการผักข้างบ้าน อาหารข้างรั้ว ครอบครัวพอเพียงหลีกเลี่ยงสารเคมี ”

ตำบลบางสัก อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลบางสัก

ชื่อโครงการ โครงการผักข้างบ้าน อาหารข้างรั้ว ครอบครัวพอเพียงหลีกเลี่ยงสารเคมี

ที่อยู่ ตำบลบางสัก อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 2561-L1469-2-2 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 31 กรกฎาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการผักข้างบ้าน อาหารข้างรั้ว ครอบครัวพอเพียงหลีกเลี่ยงสารเคมี จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบางสัก อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางสัก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการผักข้างบ้าน อาหารข้างรั้ว ครอบครัวพอเพียงหลีกเลี่ยงสารเคมี



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการผักข้างบ้าน อาหารข้างรั้ว ครอบครัวพอเพียงหลีกเลี่ยงสารเคมี " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบางสัก อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 2561-L1469-2-2 ระยะเวลาการดำเนินงาน 31 กรกฎาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 9,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางสัก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สมุนไพรเป็นพืชชนิดหนึ่งที่อยู่กับวิถีชีวิตคนไทยมาเป็นเวลานาน สมัยปู่ ย่า ตายาย เมื่อมีการเจ็บไข้ ไม่สบายขึ้นในชุมชน หรือครอบครัว จะมีการนำสมุนไพรมาใช้ในการรักษาเบื้องต้น เพื่อบรรเทาอาการเจ็บป่วย โดยอาศัยภูมิปัญญาที่สืบทอดกันมาหลายช่วงอายุคน ปัจจุบันมีความเจริญทางด้านเทคโนโลยี เมื่อมีการเจ็บไข้ ไม่สบายก็ไปสถานพยาบาลเพื่อรักษา โดยลืมไปว่ายังมีสมุนไพรที่สามารถนำมาดูแล รักษาสุขภาพได้อีกทางหนึ่ง     ปัจจุบันสถานการณ์การป่วยเป็นโรคเรื้อรัง โรคความดัน เบาหวาน ซึ่งเป็นในทุกช่วงอายุมีความรุนแรงและเพิ่มมากขึ้นทุกปี สาเหตุก็เกิดจากการบบริโภค     ทุกคนก็หวังพึ่งหมอพยาบาลเพื่อทำการรักษา และจะรับยามากินในการรักษาโรค แต่โรคบางโรคการกินยาอย่างเดียว ไม่ใช่คำตอบสุดท้าย การกินอาหารให้เหมาะสม และการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอรวมถึงการทำแผนด้านจิตใจเรียนรู้ การผ่อนคลาย เพื่อให้ห่างไกลความเครียด เป็นปัจจัยที่สำคัญมาก ซึ่งหมายถึงพึ่งยาอย่างเดียวไม่เพียงพอต้องพึ่งตนเอง รู้จักเลือกกินเลือกอยู่ให้สมดุลกัน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 70
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ผู้เข้ารับการฝึกอบรมได้รับความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับประโยชน์ของสมุนไพรที่เป็นภูมิปัญญาชาวบ้านที่สามารถนำมารักษาโรคได้
    2. ผู้ที่เข้าร่วมโครงการสามารถนำสมันไพรไทยมาประยุคใช้กับภูมิปัญญาท้องถิ่น เพื่อประโยชน์ในการดูแลสุขภาพ
    3. ผู้เข้าร่วมอบรมสามารถพึ่งตนเองด้านสุขภาพ ด้านส่งเสริมการใช้สมันไพรในชีวิตประจำวัน และได้มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์พืช สมุนไพร

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 70
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 70
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการผักข้างบ้าน อาหารข้างรั้ว ครอบครัวพอเพียงหลีกเลี่ยงสารเคมี จังหวัด ตรัง

    รหัสโครงการ 2561-L1469-2-2

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลบางสัก )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด