กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลฉลุง


“ โครงการรณรงค์ ควบคุมและป้องกันโรคติดต่อโดยยุงลาย ในเขตรับผิดชอบ รพ.สต.ฉลุง ”

ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางรำจวน ระฆังทอง

ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์ ควบคุมและป้องกันโรคติดต่อโดยยุงลาย ในเขตรับผิดชอบ รพ.สต.ฉลุง

ที่อยู่ ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 61-50097-2-09 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 สิงหาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรณรงค์ ควบคุมและป้องกันโรคติดต่อโดยยุงลาย ในเขตรับผิดชอบ รพ.สต.ฉลุง จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลฉลุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์ ควบคุมและป้องกันโรคติดต่อโดยยุงลาย ในเขตรับผิดชอบ รพ.สต.ฉลุง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการรณรงค์ ควบคุมและป้องกันโรคติดต่อโดยยุงลาย ในเขตรับผิดชอบ รพ.สต.ฉลุง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 61-50097-2-09 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 สิงหาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 55,800.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลฉลุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไข้เลือดออก เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ เนื่องจากโรคนี้มีแนวโน้มการระบาดในช่วงฤดูฝนของทุกปี และพบว่าประชากรที่ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกมากที่สุด ได้แก่ กลุ่มเด็กวัยเรียนที่มีอายุ ตั้งแต่ ๕-๑๔ ปี รองลงมาคือ เด็กก่อนวัยเรียนและเด็กโตตามลำดับ ปัจจุบันยังพบผู้ป่วยไข้เลือดออกในผู้ใหญ่และมีการเกิดโรคตลอดทั้งปี ช่วงเวลาที่พบมากที่สุดคือช่วงฤดูฝน ปี ๒๕๖๐ ตั้งแต่เดือน มกราคม– ธันวาคม๒๕๖๐ มีรายงานผู้ป่วย ๒๘ราย ในปี ๒๕๖๑ ตั้งแต่ เดือนมกราคม – มิถุนายน พบผู้ป่วย๒๑ ราย อีกทั้งยังมีแนวโน้มการระบาดของโรค ชิคุนกุนยา อำเภอเมืองสตูล เริ่มมีผู้ป่วยตั้งแต่เดือน พฤษภาคม – กรกฎาคม ๒๕๖๑จำนวน ๑๙๗ ราย และมีแนวโน้มที่จะสูงขึ้นเรื่อยๆ โรคไข้เลือดออก กลายเป็นปัญหา โรคติดต่อประจำถิ่นที่พบการระบาด ในพื้นที่ ตำบลฉลุง ทุกปี สาเหตุ คือประชากรขาดความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับภาหะนำโรคไข้เลือดออก ขาดความร่วมมือในการกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ ไม่ตระหนักถึงการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงในบ้านเรือนตนเอง องค์การบริหารส่วนตำบลฉลุงได้ดำเนินการตามมาตรการหลากหลายวิธี โดยคลอบคลุม เพื่อป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ ไม่ว่าจะเป็นการเฝ้าระวัง การสนับสนุนวัสดุสารเคมี และการบริหารจัดการโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ให้มีประสิทธิภาพจนสามารถควบคุมการระบาดได้โดยการดำเนินการตามมาตรการ การควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกเป็นอย่างดี และเพื่อให้การดำเนินงานมีความต่อเนื่อง ในการนี้ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ตำบลฉลุง จึงได้จัดทำโครงการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑ เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ในทุกกลุ่มอายุ ๒ เพื่อกำจัดลูกน้ำยุงลาน และยุงลายพาหะนำโรคในบ้าน ชุมชน โรงเรียน ๓ เพื่อเป็นการกระตุ้นให้ประชาชน ตื่นกลัว และตระหนักถึงการดูแลตนเองให้ปลอดภัยจากโรคไข้เลือดออก
  2. เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้ปวดข้อยุงลาย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย ทำความสะอาดในชุมชน โดย อสม. เดือน ละ ๔ ครั้ง ๒ เดือน
  2. ๓.กิจกรรมสุ่มตรวจลูกน้ำยุงลายในโรงเรียน ๒ ครั้ง โดยเจ้าหน้าที่ และคณะทำงาน อสม.
  3. - พ่นสารเคมี ฆ่ายุงตัวแก่ในรัศมี ๑๐๐ เมตรจากบ้านผู้ป่วยให้มันเวลา ตามระยะเวลาการควบคุมโรค - จัดบริการผู้ป่วยสงสัยโรคไข้เลือดออกและไข้ปวดข้อยุงลายในพื้นที่ เพื่อควบคุมป้องกันการระบาด

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑.อัตราการเกิดโรคลดลง และสามารถควบคุมโรคได้ในเวลาอันสั้น ๒.ประชาชนทุกกลุ่มอายุ ตระหนักและเห็นความสำคัญของการควบคุม ป้องกันโรคไข้เลือดออก ด้านการควบคุมภาหะ ด้านสิ่งแวดล้อม และการป้องกันโรค ๓.สามารถเสริมสร้างความร่วมมือระหว่างองค์กร ผู้นำชุมชน และโรงเรียน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ๑ เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ในทุกกลุ่มอายุ ๒ เพื่อกำจัดลูกน้ำยุงลาน และยุงลายพาหะนำโรคในบ้าน ชุมชน โรงเรียน ๓ เพื่อเป็นการกระตุ้นให้ประชาชน ตื่นกลัว และตระหนักถึงการดูแลตนเองให้ปลอดภัยจากโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด : ๑.อัตราการเกิดโรคลดลง และสามารถควบคุมโรคได้ในเวลาอันสั้น ๒.ประชาชนทุกกลุ่มอายุ ตระหนักและเห็นความสำคัญของการควบคุม ป้องกันโรคไข้เลือดออก ด้านการควบคุมภาหะ ด้านสิ่งแวดล้อม และการป้องกันโรค ๓.สามารถเสริมสร้างความร่วมมือระหว่างองค์กร ผู้นำชุมชน และโรงเรียน
2.00

 

2 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้ปวดข้อยุงลาย
ตัวชี้วัด : ๑.อัตราการเกิดโรคลดลง และสามารถควบคุมโรคได้ในเวลาอันสั้น ๒.ประชาชนทุกกลุ่มอายุ ตระหนักและเห็นความสำคัญของการควบคุม ป้องกันโรคไข้เลือดออก ด้านการควบคุมภาหะ ด้านสิ่งแวดล้อม และการป้องกันโรค ๓.สามารถเสริมสร้างความร่วมมือระหว่างองค์กร ผู้นำชุมชน และโรงเรียน
2.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑ เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ในทุกกลุ่มอายุ ๒ เพื่อกำจัดลูกน้ำยุงลาน และยุงลายพาหะนำโรคในบ้าน ชุมชน โรงเรียน ๓ เพื่อเป็นการกระตุ้นให้ประชาชน ตื่นกลัว และตระหนักถึงการดูแลตนเองให้ปลอดภัยจากโรคไข้เลือดออก (2) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้ปวดข้อยุงลาย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย ทำความสะอาดในชุมชน โดย อสม. เดือน ละ ๔ ครั้ง ๒ เดือน  (2) ๓.กิจกรรมสุ่มตรวจลูกน้ำยุงลายในโรงเรียน ๒ ครั้ง โดยเจ้าหน้าที่ และคณะทำงาน อสม. (3) - พ่นสารเคมี ฆ่ายุงตัวแก่ในรัศมี ๑๐๐ เมตรจากบ้านผู้ป่วยให้มันเวลา ตามระยะเวลาการควบคุมโรค        - จัดบริการผู้ป่วยสงสัยโรคไข้เลือดออกและไข้ปวดข้อยุงลายในพื้นที่ เพื่อควบคุมป้องกันการระบาด

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการรณรงค์ ควบคุมและป้องกันโรคติดต่อโดยยุงลาย ในเขตรับผิดชอบ รพ.สต.ฉลุง จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 61-50097-2-09

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางรำจวน ระฆังทอง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด