กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการจัดตั้งห้องปฏิบัติการชุมชนเพื่อการคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโคกหล่อ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกหล่อ


“ โครงการจัดตั้งห้องปฏิบัติการชุมชนเพื่อการคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโคกหล่อ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง ”

ตำบลโคกหล่อ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางสาวฑิตฐิตา จันทรกรัด

ชื่อโครงการ โครงการจัดตั้งห้องปฏิบัติการชุมชนเพื่อการคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโคกหล่อ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

ที่อยู่ ตำบลโคกหล่อ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 2561-L1490-1-09 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการจัดตั้งห้องปฏิบัติการชุมชนเพื่อการคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโคกหล่อ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโคกหล่อ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกหล่อ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการจัดตั้งห้องปฏิบัติการชุมชนเพื่อการคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโคกหล่อ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการจัดตั้งห้องปฏิบัติการชุมชนเพื่อการคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโคกหล่อ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโคกหล่อ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 2561-L1490-1-09 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 39,190.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกหล่อ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันความเสี่ยงในการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพทั้งยา อาหารเสริม เครื่องสำอางและเครื่องมือแพทย์ที่ไม่ปลอดภัยครอบคลุมทุกเพศ ทุกวัย โดยกลยุทธหลักคือการโฆษณา กล่าวอ้างสรรพคุณโอ้อวด เป็นเท็จ เกินความจริง สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) ได้รับเรื่องร้องเรียนจำนวนมาก เรื่องการขายผลิตภัณฑ์โฆษณาอาหารเสริม และผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง ในประเด็นเกี่ยวกับการโฆษณาเกินจริง หลอกลวงผู้บริโภค เช่น ทำให้ผิวขาวใส บำรุงผิวพรรณ ชะลอไม่ให้ผิวหนังแก่ก่อนวัย ต้านอนุมูลอิสระซึ่งมีอยู่ในเซลล์ รับแสงที่จอประสาทตา อีกทั้งมีผู้ร้องเรียนจำนวนหลายรายแจ้งว่ารับประทานผลิตภัณฑ์เสริมอาหารบางรายการแล้วเกิดอาการ มือสั่น ใจสั่น คอแห้ง นอนไม่หลับ นั้น ผลจากการตรวจสอบพบผลิตภัณฑ์เสริมอาหารและผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางผิดกฎหมายตามพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ.2522 และพระราชบัญญัติเครื่องสำอางพ.ศ. 2558 จำนวนมาก ซึ่งเข้าข่ายว่า มีการแสดงข้อความโฆษณาเกินจริง หลอกลวงผู้บริโภค โดยโฆษณาว่า เครื่องดื่มหุ่นสวย ช่วยลดเหงื่อ กลิ่นตัว ลดตุ่ม ผิวหนังไก่ พร้อมช่วยชะลอการเกิดขน เป็นต้น

จากสถานการณ์ดังกล่าว โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโคกหล่อ เห็นความสำคัญของปัญหาที่จะช่วยมิให้ประชาชนตกเป็นเหยื่อ จึงจัดตั้งศูนย์แจ้งเตือนภัยเฝ้าระวังและรับเรื่องร้องเรียนปัญหาผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชน โดยการจัดตั้งห้องปฏิบัติการชุมชนที่มมีมาตรฐานทั้งด้านบุคคล สถานที่ เครื่องมือ เพื่อประโยขน์ต่อการคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพและเสริมสร้างสุขภาพของประชาชน อันตอบสนองต่อวัตถุประสงค์หลักของรัฐบาล ในการที่จะให้ประเทศไทยเป็นดินแดนแห่งความปลอดภัยด้านอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อจัดตั้งห้องปฏิบัติการชุมชน ศูนย์แจ้งเตือนภัยเฝ้าระวังและรับเรื่องร้องเรียนปัญหาผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชน
  2. เพื่อพัฒนาศักยภาพด้านการตรวจเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์สุขภาพของเจ้าหน้าที่เครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภค

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดตั้งห้องปฏิบัติการชุมชน
  2. ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาองค์ความรู้สำหรับเจ้าหน้าที่ประจำห้องปฏิบัติการ
  3. สำรวจเฝ้าระวังการจำหน่ายผลิตภัณฑ์สุขภาพที่มีความเสี่ยงมีส่วนผสมของสารอันตรายในพื้นที่รับผิดชอบ เก็บตัวอย่างและทดสอบผลิตภัณฑ์สุขภาพที่มีความเสี่ยงมี่ส่วนผสมของสารอันอันตรายในผลิตภัณฑ์

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ประชาชนในพื้นที่ตำบลโคกหล่อมีความปลอดภัยจากใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพ ซึ่งปราศจากการปนเปื้อนจากสารอันตรายในการใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อจัดตั้งห้องปฏิบัติการชุมชน ศูนย์แจ้งเตือนภัยเฝ้าระวังและรับเรื่องร้องเรียนปัญหาผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชน
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมการอบรมมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการทดสอบสารปนเปื้อนในผลิตภัณฑ์สุขภาพอย่างถูกต้องร้อยละ 80
0.00

 

2 เพื่อพัฒนาศักยภาพด้านการตรวจเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์สุขภาพของเจ้าหน้าที่เครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภค
ตัวชี้วัด : เป็นต้นแบบห้องปฏิบัติการชุมชนเพื่อการคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพอำเภอเมืองตรัง
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อจัดตั้งห้องปฏิบัติการชุมชน ศูนย์แจ้งเตือนภัยเฝ้าระวังและรับเรื่องร้องเรียนปัญหาผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชน (2) เพื่อพัฒนาศักยภาพด้านการตรวจเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์สุขภาพของเจ้าหน้าที่เครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภค

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดตั้งห้องปฏิบัติการชุมชน (2) ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาองค์ความรู้สำหรับเจ้าหน้าที่ประจำห้องปฏิบัติการ (3) สำรวจเฝ้าระวังการจำหน่ายผลิตภัณฑ์สุขภาพที่มีความเสี่ยงมีส่วนผสมของสารอันตรายในพื้นที่รับผิดชอบ เก็บตัวอย่างและทดสอบผลิตภัณฑ์สุขภาพที่มีความเสี่ยงมี่ส่วนผสมของสารอันอันตรายในผลิตภัณฑ์

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการจัดตั้งห้องปฏิบัติการชุมชนเพื่อการคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโคกหล่อ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 2561-L1490-1-09

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวฑิตฐิตา จันทรกรัด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด