กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ พัฒนาสติปัญญาเด็กวัยเรียนในพื้นที่ อบต.ตุยง ”
ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี



หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลหนองจิก




ชื่อโครงการ พัฒนาสติปัญญาเด็กวัยเรียนในพื้นที่ อบต.ตุยง

ที่อยู่ ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 60-L3065-1-08 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2559 ถึง 30 กันยายน 2560

กิตติกรรมประกาศ

"พัฒนาสติปัญญาเด็กวัยเรียนในพื้นที่ อบต.ตุยง จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
พัฒนาสติปัญญาเด็กวัยเรียนในพื้นที่ อบต.ตุยง



บทคัดย่อ

โครงการ " พัฒนาสติปัญญาเด็กวัยเรียนในพื้นที่ อบต.ตุยง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 60-L3065-1-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2559 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 11,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เด็กปฐมวัยจำเป็นต้องพึ่งพ่อแม่ ผู้ใหญ่ ในการอบรมเลี้ยงดู ปกป้อง คุ้มครอง ให้ความรัก ความอบอุ่น
เอาใจใส่อย่างใกล้ชิด การอบรมเลี้ยงดูที่มีคุณภาพจะส่งผลให้เด็กเจริญเติบโต สุขภาพแข็งแรง มีพัฒนาการสมดุลทั้งทางด้านร่างกาย สติปัญญา จิตใจ อารมณ์ สังคม มีความสามารถในการเรียนรู้และเติบโตเป็นทรัพยากรบุคคลที่มีคุณภาพ อันเป็นรากฐานสำคัญของการพัฒนาประเทศ จากสถานการณ์ปัญหาระดับสติปัญญาเด็กไทย(IQ) ยังเป็นเรื่องที่น่าห่วงและจำเป็นต้องได้รับการช่วยเหลือจากทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง ซึ่งล่าสุด ผลการสำรวจระดับสติปัญญาในปี พ.ศ. 2554พบว่า มีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 98.59(ค่าเฉลี่ยปกติ 90 – 109)ซึ่งถือว่าเป็นค่าระดับสติปัญญาที่อยู่ในเกณฑ์ปกติแต่ค่อนไปทางต่ำ ซึ่งสอดคล้องกับคะแนนการสอบประเมินผลนักเรียนนานาชาติ ในปี 2555 พบว่า เด็กไทยมีทักษะทางด้านการคิดและการใช้ภาษาอยู่ในเกณฑ์ต่ำ ดังเห็นได้จากผลสัมฤทธิ์การเรียนคณิตศาสตร์ การอ่านและวิทยาศาสตร์ มีคะแนนรวมอยู่ในอันดับที่ 50 จาก 65 ประเทศสมาชิกขององค์การเพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา (Organisation for Economic Co-operation and Development – OECD ขณะที่ คะแนนความฉลาดทางอารมณ์ (EQ) เฉลี่ยในระดับประเทศก็ยังอยู่ในระดับต่ำกว่าเกณฑ์ปกติ คือ มีค่าคะแนนอยู่ที่ 45.12 จากค่าคะแนนปกติ 50-100 จากการดำเนินงานคัดกรอง IQ/EQ ในโรงเรียนนำร่อง คือ โรงเรียนวัดมุจลินทวาปิวิหาร อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จำนวน 108 ราย ในปี 2558 พบนักเรียนที่มีความเสี่ยง / มีปัญหา IQ/EQ จำนวน 30 ราย คิดเป็น 27 % จึงได้มีการจัดกิจกรรมเสริมสร้างศักยภาพครูในการดูแลติดตามและให้คำปรึกษาเด็กกลุ่มพิเศษดังกล่าวและมีการจัดกิจกรรมเสริมสร้าง IQ/EQ ในเด็กนักเรียนที่มีความเสี่ยง/มีปัญหา ทำให้เด็กเหล่านั้นมี IQ/EQ ที่ดีขึ้น ซึ่งในปี 2560 ต้องการที่จะขยายโครงการโรงเรียนต้นแบบในโรงเรียนอื่นๆในเขตพื้นที่อำเภอหนองจิกต่อไป เด็กจะเกิดมามีความสามารถฉลาดหลักแหลมหรือเป็นคนที่ขาดความสามารถนั้น ขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายๆ อย่าง แต่ปัจจัยที่สำคัญที่สุดยังคงเป็น “สมอง” ซึ่งพัฒนาการทางสมองเริ่มต้นมาตั้งแต่วัยเด็ก จึงจำเป็นต้องพัฒนาสมองของเด็กสร้างเสริมความรู้ประสบการณ์ให้เหมาะสมกับวัยเหมาะสมกับการเจริญเติบโตของสมอง ครูจึงจำเป็นต้องมีความรู้และความเข้าใจในการส่งเสริมให้เด็กได้เรียนรู้และพัฒนาทักษะด้านการคิด การใช้ภาษาและอารมณ์ให้ถูกต้องตามจังหวะและเวลาที่เหมาะสมและเด็กควรได้รับการประเมินปัญหา ส่งเสริม ดูแลศักยภาพของเด็ก ทั้งความสามารถทางเชาวน์ปัญญาและความฉลาดทางอารมณ์ เพื่อป้องกันปัญหาในการเรียนและการใช้ชีวิตในอนาคตของเด็กนักเรียน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. โรงเรียนต้นแบบอย่างน้อย 1 โรงเรียนได้พัฒนาระบบเฝ้าระวัง IQ/EQ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 40
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ครูและบุคลากรมีความรู้ ความเข้าใจในการส่งเสริมความสามารถทางเชาวน์ปัญญาและความฉลาดทางอารมณ์ของเด็กนักเรียน
      1. ครูมีศักยภาพในการดูแลติดตามและให้คำปรึกษาเด็กนักเรียนมากขึ้น
      2. เด็กได้รับการเรียนรู้และพัฒนาทักษะด้านการคิด การใช้ภาษาและอารมณ์ให้ถูกต้องตามจังหวะและเวลาที่เหมาะสม

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

                    1. มีการประชุมชี้แจงเกี่ยวกับ  IQ/ EQ แก่ครูและบุคลากรที่เกี่ยวข้อง 2. มีการคัดกรอง IQ/ EQ นักเรียน
    3. ทีมสหวิชาชีพติดตามผลการคัดกรอง  IQ / EQ
    4. ส่งเสริม ดูแลนักเรียนที่มีปัญหา IQ / EQ

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 โรงเรียนต้นแบบอย่างน้อย 1 โรงเรียนได้พัฒนาระบบเฝ้าระวัง IQ/EQ
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 70 ของเด็กวัยเรียนที่มีปัญหา IQ/EQ ได้รับการดูแล

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 40
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) โรงเรียนต้นแบบอย่างน้อย 1 โรงเรียนได้พัฒนาระบบเฝ้าระวัง IQ/EQ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    พัฒนาสติปัญญาเด็กวัยเรียนในพื้นที่ อบต.ตุยง จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ 60-L3065-1-08

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( โรงพยาบาลหนองจิก )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด