กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บือมัง


“ โครงการรณรงค์ตรวจมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ตำบลบือมัง ”

ตำบลบือมัง อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นายอาสะอารี มาดีโมง

ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์ตรวจมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ตำบลบือมัง

ที่อยู่ ตำบลบือมัง อำเภอรามัน จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 61-L4163-2-02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 สิงหาคม 2561 ถึง 28 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรณรงค์ตรวจมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ตำบลบือมัง จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบือมัง อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บือมัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์ตรวจมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ตำบลบือมัง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการรณรงค์ตรวจมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ตำบลบือมัง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบือมัง อำเภอรามัน จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 61-L4163-2-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 สิงหาคม 2561 - 28 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 44,300.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บือมัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

มะเร็งเตัานม เป็นโรคที่พบบ่อยในสตรีไทย ซึ่งอาการของโรคในระยะเริ่มต้นจะไม่มีอาการปวด เมื่อเป็นมากขึ้นจะคลำพบก้อนเนื้อได้ด้วยตนเอง หญิงวัยเจริญพันธุ์มีโอกาสเสี่ยงเป็นมะเร็งเต้านมทุกคน เมื่อเป็นโรคระยะสุดท้ายจะรักษาไม่หาย ทางป้องกันที่ดีที่สุดคือ การตรวจคลำเต้านมด้วยตนเองทุกเดือนและเมื่อคลำพบก้อนผิดปกติรีบปรึกษาเจ้าหน้าที่สาธารณสุขหรือแพทย์เพื่อตรวจที่ถูกต้องต่อไป จากรายงานของ รพ.สต.บือมัง ปี 2560 มีผู้ป่วยคลำพบก้อนที่เต้านม 3 ราย เป็นก้อนเนื้อดี 1 ราย ก้อนเนื้อร้าย 2 ราย มะเร็งปากมดลูกเป็นโรคที่พบเป็นอันดับหนึ่งในสตรีไทย และมีอุบัติการณ์ของการเกิดมะเร็งเท่ากับ 19.5 ต่อแสนประชากร โดยพบมากที่สุดระหว่างอายุ 30-60 ปี ซึ่งระยะที่พบส่วนใหญ่อยู่ในระยะลุกลามและอัตราอยู่รอด 5 ปี ประมาณร้อยละ 60 แต่อัตราการอยู่รอด 5 ปี จะดีขึ้น ถ้าพบในระยะเริ่มแรก มะเร็งปากมดลูกเป็นโรคที่สามารถตรวจพบตั้งแต่ยังไม่มีอาการด้วยการตรวจ Pap smear ซึ่งเป็นการตรวจคัดกรองโรคด้วยการทดสอบทางเซลล์วิทยา ทำได้ง่าย เสียเวลาน้อย ค่าใช้จ่ายถูกและให้ความแม่นยำได้ดี กลุ่มสตรีที่มีอายุ 30 ถึง 60 ปีซึ่งเป็นกลุ่มเสียงต่อการเป็นมะเร็งปากมดลูกควรได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูก 5 ปี/ครั้ง ในขณะเดียวกันหากสตรีไม่มีการดูแลตนเองด้วยการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกเป็นประจำแล้วพบว่า สตรีมักไปพบแพทย์เมื่อโรคมะเร็งปากมดลูกอยู่ในระยะรุนแรงทำให้ขาดโอกาสในการหายจากโรคและต้องสูญเสียทรัพยากรในการรักษาทั้งในด้านส่วนบุคคลและประเทศชาติการเข้าถึงบริการสาธารณสุขของหญิงวัยเจริญพันธุ์ในตำบลบือมังในเรื่องการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกอยู่ในเกณฑ์ ร้อยละ 80 (สะสม 5 ปี) ในเรื่องตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมร้อยละ 70 (ทุกปี) สำหรับตำบลบือมังจากสถานการณ์ 5 ปี ย้อนหลังมีผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูก 3 ราย เสียชีวิต 2 ราย มะเร็งเต้านม 6 ราย เสียชีวิต 3 ราย โดย 3 ราย ที่เสียชีวิตเข้ารับการรักษาในระยะท้ายของโรคแล้ว ดังนั้นเพื่อให้หญิงวัยเจริญพันธุ์เข้าถึงการคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกตามสิทธิที่พึงได้รับ ทางชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลบือมัง จึงได้จัดทำโครงการรณรงค์ตรวจมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมตำบลบือมัง โดยการคืนข้อมูลและสถานการณ์โรคของตำบลบือมังแก่ชุมชนจัดเวทีเรียนรู้แลกเปลี่ยนระหว่างชาวบ้าน ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลบือมัง ผู้รับผิดชอบงานมะเร็งประจำ รพ.สต.บือมังและสอนการตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดความสูญเสียต่อชีวิตและทรัพย์สินของผู้ป่วยและครอบครัวต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้หญิงวัยเจริญพันธุ์เข้าใจและทราบถึงความสำคัญในการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. โครงการรณรงค์ตรวจมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมตำบลบือมัง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 190
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.สตรีวัยเจริญพันธ์ุมีความรู้เรื่องมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก 2.สตรีวัยเจริญพันธุ์ได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูก (ไม่นับที่ตรวจแล้ว) 3.สตรีวัยเจริญพันธุ์ได้รับการตรวจมะเร็งเต้านม


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. โครงการรณรงค์ตรวจมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมตำบลบือมัง

วันที่ 26 พฤศจิกายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

1.ประสานงานผู้เกี่ยวข้องในการดำเนินงานตามโครงการ 2.คัดเลือกกลุ่มเป้าหมาย     หมู่ที่ 1 จำนวน 35 คน     หมู่ที่ 2 จำนวน 35 คน     หมู่ที่ 3 จำนวน 35 คน     หมู่ที่ 4 จำนวน 35 คน     หมู่ที่ 5 จำนวน 25 คน     หมู่ที่ 6 จำนวน 25 คน 3.จัดเตรียมเอกสาร/อุปกรณ์และสถานที่ 4.ดำเนินการคืนข้อมูลแก่ชุมชนและจัดเวทีเรียนรู้แลกเปลี่ยนในแต่ละหมู่บ้านตามตารางดำเนินงาน 5.ติดตั้งป้ายรณรงค์การตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกในชุมชน 3 จุด 6.ประสานกับทาง รพ.สต.บือมังเพื่อตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกให้กับกลุ่มเป้าหมายต่อไป

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สตรีวัยเจริญพันธุ์มีความรู้เรื่องมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก และได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม

 

190 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้หญิงวัยเจริญพันธุ์เข้าใจและทราบถึงความสำคัญในการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 190
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 190
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้หญิงวัยเจริญพันธุ์เข้าใจและทราบถึงความสำคัญในการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการรณรงค์ตรวจมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมตำบลบือมัง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการรณรงค์ตรวจมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ตำบลบือมัง จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 61-L4163-2-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอาสะอารี มาดีโมง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด