กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลเมืองคลองแห


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพกาย สุขภาพใจ ผู้สูงวัยมีสุข ประจำปี 2561 ”

ตำบลคลองแห อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางพรทิพย์ พละสินธุ์,นางอุดมรัตน์ หมุยจินดา,นางสุวิมล อิ้วเส้ง กลุ่มจิตอาสา สายธารทิพย์สู่ชุมชน

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพกาย สุขภาพใจ ผู้สูงวัยมีสุข ประจำปี 2561

ที่อยู่ ตำบลคลองแห อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 2561-l7255-02-03 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 31 กรกฎาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพกาย สุขภาพใจ ผู้สูงวัยมีสุข ประจำปี 2561 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองแห อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลเมืองคลองแห ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพกาย สุขภาพใจ ผู้สูงวัยมีสุข ประจำปี 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพกาย สุขภาพใจ ผู้สูงวัยมีสุข ประจำปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองแห อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 2561-l7255-02-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 31 กรกฎาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 68,000.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลเมืองคลองแห เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากการศึกษาข้อมูลพบว่าโครงสร้างประชากรของประเทศไทย กลุ่มประชากรผู้สูงอายุมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทั้งด้านปริมาณและสัดส่วนต่อประชากร จำนวนผู้สูงอายุที่เพิ่มมากขึ้นเช่นนี้ เนื่องมาจากการพัฒนาด้านสาธารณสุขและทางการแพทย์ ทำให้อัตราการตายลดลง ผู้สูงอายุจึงมีชีวิตที่ยืนยาวขึ้น แต่ผู้สูงอายุก็ยังได้รับผลกระทบจากการเสื่อมถอยของร่างกายตามวัย รวมทั้งผลของโรคเรื้อรัง    หรืออุบัติเหตุ สิ่งเหล่านี้ทำให้ผู้สูงอายุดำรงชีวิตอยู่อย่างไม่มีความสุข ผู้สูงอายุ ถือว่าเป็น ปูชนียบุคคลของสังคมที่มีคุณค่ายิ่ง เนื่องจากผ่านประสบการณ์มามาก ได้เคยเป็นกำลังสำคัญของสังคมมาก่อน มีความรู้ มีทักษะ อนุรักษ์ และสืบทอดประเพณีวัฒนธรรมท้องถิ่น วิถีชีวิตดั้งเดิม และได้ทำคุณประโยชน์แก่สังคมมาแล้วมากมาย ในสถานการณ์ปัจจุบัน เป็นสังคมที่มีการแข่งขัน ในเรื่องการทำงาน บุตรหลานซึ่งเป็นวัยทำงาน จะต้องออกไปทำงานนอกบ้าน กว่าจะกลับมาก็มืดค่ำ ทำให้ความสัมพันธ์ในครอบครัวระหว่าง พ่อ แม่ ปู่ ย่า ตา ยาย หรือญาติผู้ใหญ่ ซึ่งเป็นผู้สูงวัยลดน้อยลง ท่านอาจจะน้อยใจ เศร้าใจ ทำให้เกิดโรคซึมเศร้าได้
            ในการนี้กลุ่มจิตอาสา สายธารทิพย์สู่ชุมชน ตำบลคลองแห ได้เห็นความสำคัญของผู้สูงอายุ และความเป็นอยู่ทั้งสุขภาพกาย และสุขภาพใจ จึงได้จัดทำโครงการ “ส่งเสริมสุขภาพกาย สุขภาพใจ ผู้สูงวัยมีสุข” เพื่อให้ความรู้ในเรื่องการดูแลสุขภาพกาย สุขภาพใจ การปรับตัว การอยู่ร่วมกับครอบครัว และสังคม ได้อย่างมีความสุข ซึ่งจะทำให้ผู้สูงอายุรู้สึกว่าชีวิตมีคุณค่า สามารถทำประโยชน์ให้แก่สังคม และมีคุณภาพชีวิตที่ดีต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อแก้ปัญหาผู้สูงอายุที่มีภาวะแทรกซ้อนจากโรคเรื้อรัง
  2. เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ
  3. เพื่อให้เกิดนโยบายสาธารณะเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
  4. 1. เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ และมีทักษะในการปฏิบัติตนรวมทั้งสามารถแก้ปัญหาด้านสุขภาพด้วยตนเอง 2. เพื่อให้ผู้สูงอายุ ได้พบปะแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน ทำให้ลดภาวะโรคเครียด หรือโรคซึมเศร้า 3. เพื่อเสริมสร้างให้ผู้สูงอายุ มีทัศนคติที่ดี สามารถอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข มีคุณภาพชีวิตที่ดี

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกันให้แก่ผู้สูงอายุ โครงการส่งเสริมสุขภาพกาย สุขภาพใจ ผู้สูงวัยมีสุข จำนวน 3 วัน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 100
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1 ผู้สูงอายุมีความรู้การเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ และมีทักษะในการปฏิบัติตน รวมทั้งสามารถแก้ปัญหา ด้านสุขภาพด้วยตนเอง 2 ผู้สูงอายุ ได้พบปะแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน ทำให้ลดภาวะโรคเครียด หรือโรคซึมเศร้า 3 ผู้สูงอายุ มีทัศนคติที่ดี สามารถอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข มีคุณภาพชีวิตที่ดี


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกันให้แก่ผู้สูงอายุ โครงการส่งเสริมสุขภาพกาย สุขภาพใจ ผู้สูงวัยมีสุข จำนวน 3 วัน

วันที่ 25 สิงหาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

วันที่ 25 สิงหาคม 2561 08:30 – 09:45 น. ลงทะเบียน/ ตรวจสุขภาพพื้นฐาน (หาค่า BMI ความดันโลหิต และเบาหวาน)
09:45 – 10:00 น. พิธีเปิดโครงการอบรมแกนนำสุขภาพผู้สูงอายุในพื้นที่ตำบลคลองแห

10:00 – 12:00 น.  - กล่าวเปิด โดย นายอนันต์ การันสันติ นายกเทศมนตรีเมืองคลองแห
          แนะนำคณะกรรมการ ฯ ที่มา แนวคิด หลักการของโครงการ ฯ           -โดย นางพรทิพย์ พละสินธุ์ ประธานกลุ่มจิตอาสาสายธารทิพย์สู่ชุมชน
12:00 – 13:00 น.พักรับประทานอาหารกลางวัน 13:00 – 14:00 น.อบรมเรื่อง "การบริหารสุขภาพจิตใจในวัยผู้สูงอายุ"       - การยอมรับสภาพสังคม       - การมองโลกในแง่ดี       - การหลีกเลี่ยงการอยู่คนเดี่ยว
14:00 – 16:00 น.อบรมเรื่อง "การเปลี่ยนแปลงด้านจิตใจ ร่างกาย สังคม เศรษฐกิจ"       -การใช้ชีวิตร่วมกับคนหลายวัย 16:00 – 16:30 น.สรุป/ปิดการอบรมวันที่หนึ่ง


วันที่ 26 สิงหาคม 2561 08:30 – 09:00 น. ลงทะเบียน/ การเต้นบาสโลป (เตรียมความพร้อมก่อนอบรม) 09:00 – 10:00 น. แบ่งกลุ่มให้ความรู้เพื่อพัฒนาจิตใจ         - การฝึกทำกิจกรรมการใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์         - การทำดอกไม้และตะกร้าจากใบเตยหอม 12:00 – 13:00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน 13:00 – 15:00 น.  อบรมเรื่อง "การนำหลักศาสนามาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน"         -รูปแบบการทำสมาธิ เพื่อบำบัดกายและใจ 16:00 – 16:30 น. สรุป/ปิดการอบรมวันที่หนึ่ง


วันที่ 2 กันยายน 2561 08:30 – 09:00 น. ลงทะเบียน
09:00 – 10:00 น. อบรมเรื่อง "การออกกำลังกายที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุ"       - ประโยชน์ของสมุนไพรไทย         - แบ่งกลุ่มเพื่อระดมความคิด ความต้องการที่จะดำเนินการเกี่ยวกับกิจกรรมที่จะ ทำร่วมกันต่อไป 12:00 – 13:00 น.  พักรับประทานอาหารกลางวัน 13:00 – 16:00 น.  อบรมเรื่อง "ความเข้าใจที่ดีต่อโภชนาการ และคุณลักษณะของโภชนาการที่ดี"         - ผลของอาหารต่อการเปลี่ยนแปลงในวัยสูงอายุ         - อาหารที่ผู้สูงอายุควรบริโภคบ่อย และอาหารที่ควรหลีกเลี่ยง 16:00 – 16:30 น.สรุป/ปิดการอบรมวันที่หนึ่ง


หมายเหตุ ๑. รับประทานอาหารว่างและเครื่องดื่ม เวลา 10.00 – 10.45 น. และ เวลา 14.00 – 14.45 น. 2. กำหนดการสามารถเปลี่ยนแปลงตามความเหมาะสม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ผู้สูงอายุมีความรู้การเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ และมีทักษะในการปฏิบัติตน รวมทั้งสามารถแก้ปัญหา ด้านสุขภาพด้วยตนเอง 2. ผู้สูงอายุ ได้พบปะแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน ทำให้ลดภาวะโรคเครียด หรือโรคซึมเศร้า 3. ผู้สูงอายุ มีทัศนคติที่ดี สามารถอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข มีคุณภาพชีวิตที่ดี

 

100 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อแก้ปัญหาผู้สูงอายุที่มีภาวะแทรกซ้อนจากโรคเรื้อรัง
ตัวชี้วัด : จำนวนผู้สูงอายุที่มีภาวะแทรกซ้อนจากโรคเรื้อรัง เช่น ตาต้อ กระจก เป็นต้น (คน)
55.00 80.00

 

2 เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ
ตัวชี้วัด : ลดจำนวนผู้สูงอายุที่เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ เช่น หกล้มง่าย เป็นต้น
55.00 80.00

 

3 เพื่อให้เกิดนโยบายสาธารณะเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
ตัวชี้วัด : ร้อยละสถานที่หรือพื้นที่สาธารณะที่มีสภาพแวดล้อมเอื้อต่อการใช้ชีวิตของผู้สูงอายุ
55.00 80.00

 

4 1. เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ และมีทักษะในการปฏิบัติตนรวมทั้งสามารถแก้ปัญหาด้านสุขภาพด้วยตนเอง 2. เพื่อให้ผู้สูงอายุ ได้พบปะแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน ทำให้ลดภาวะโรคเครียด หรือโรคซึมเศร้า 3. เพื่อเสริมสร้างให้ผู้สูงอายุ มีทัศนคติที่ดี สามารถอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข มีคุณภาพชีวิตที่ดี
ตัวชี้วัด : 1.เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ และมีทักษะในการปฏิบัติตนรวมทั้งสามารถแก้ปัญหาด้านสุขภาพด้วยตนเอง 2. เพื่อให้ผู้สูงอายุ ได้พบปะแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน ทำให้ลดภาวะโรคเครียด หรือโรคซึมเศร้า 3. เพื่อเสริมสร้างให้ผู้สูงอายุ มีทัศนคติที่ดี สามารถอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข มีคุณภาพชีวิตที่ดี
80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 100
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อแก้ปัญหาผู้สูงอายุที่มีภาวะแทรกซ้อนจากโรคเรื้อรัง (2) เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ  (3) เพื่อให้เกิดนโยบายสาธารณะเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ (4) 1. เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ และมีทักษะในการปฏิบัติตนรวมทั้งสามารถแก้ปัญหาด้านสุขภาพด้วยตนเอง 2. เพื่อให้ผู้สูงอายุ ได้พบปะแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน ทำให้ลดภาวะโรคเครียด หรือโรคซึมเศร้า 3. เพื่อเสริมสร้างให้ผู้สูงอายุ มีทัศนคติที่ดี สามารถอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข มีคุณภาพชีวิตที่ดี

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกันให้แก่ผู้สูงอายุ โครงการส่งเสริมสุขภาพกาย สุขภาพใจ ผู้สูงวัยมีสุข จำนวน 3 วัน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมสุขภาพกาย สุขภาพใจ ผู้สูงวัยมีสุข ประจำปี 2561 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 2561-l7255-02-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางพรทิพย์ พละสินธุ์,นางอุดมรัตน์ หมุยจินดา,นางสุวิมล อิ้วเส้ง กลุ่มจิตอาสา สายธารทิพย์สู่ชุมชน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด