กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลกระแสสินธุ์


“ โครงการคัดกรองโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง ”

อำเภอกระแสสินธุ์ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายพล ปิ่นทอง

ชื่อโครงการ โครงการคัดกรองโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง

ที่อยู่ อำเภอกระแสสินธุ์ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-L5162-2-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2561 ถึง 30 ธันวาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการคัดกรองโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอกระแสสินธุ์ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลกระแสสินธุ์ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการคัดกรองโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการคัดกรองโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอกระแสสินธุ์ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61-L5162-2-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2561 - 30 ธันวาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 59,880.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลกระแสสินธุ์ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงเป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่สำคัญ ซึ่งเป็นปัญหาสุขภาพที่ประชาชนไทยมีความเสี่ยงต่อการเป็นโรคเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ เนื่องจากมีพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสม เช่น การบริโภคอาหารหวาน มัน เค็ม ขาดการออกกำลังกาย โดยที่ประชาชนจำนวนมากไม่รู้ตัวเองว่ามีความผิดปกติหรือเป็นโรคแล้ว และไม่ได้รับการวินิจฉัย และการรักษาที่เหมาะสม จะทราบก็ต่อเมื่อเกิดผลแทรกซ้อนขึ้นแล้ว ซึ่งอาจเกิดเสียชีวิตฉับพลัน หรืออาจเกิดความพิการที่ไม่อาจแก้ไขได้ เช่น โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมองตีบและแตก โรคไตวาย และตาบอดมีข้อมูลยืนยันว่า โรคเหล่านี้เป็นภาระมากขึ้นเรื่อยๆ ทั้งสุขภาพ เศรษฐกิจและสังคม โดยที่ประชาชนจำนวนมากไม่รู้ตัวว่าตนเองมีความผิดปกติจะทราบก็ต่อเมื่อเกิดผลแทรกซ้อนขึ้นแล้ว ซึ่งอาจเสียชีวิตฉับพลัน หรือเกิดความพิการที่ไม่อาจแก้ไขได้โรคเบาหวานก็เช่นเดียวกัน จากพฤติกรรมการบริโภครวมถึงการขาดการออกกำลังกาย ทำให้คนไทยป่วยเป็นโรคเบาหวานเพิ่มมากขึ้น และไม่ได้รับการวินิจฉัยและการรักษาที่เหมาะสม จึงมีความเสี่ยงเกิดปัญหาแทรกซ้อนทั้งโรคไตวาย ตาบอด และเป็นสาเหตุอันดับ 2 ที่ทำให้คนไทยตาบอดรองจากต้อกระจก โดยผู้ป่วยเบาหวานมีความเสี่ยงตาบอดมากกว่าคนทั่วไปถึงร้อยละ 25 โครงการควบคุมป้องกันโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เน้นการตรวจสุขภาพเชิงรุกโดยให้อาสาสมัครสาธารณสุขและเจ้าหน้าที่สาธารณสุขทุกระดับ ดำเนินการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ในประชาชนอายุตั้งแต่ 35 ปีขึ้นไป ทั่วประเทศ ให้ได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 เพื่อจำแนกเป็นกลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยงสูง กลุ่มสงสัยผู้ป่วยรายใหม่ กลุ่มป่วยที่ไม่มีภาวะแทรกซ้อน และกลุ่มป่วยที่มีภาวะแทรกซ้อน เพื่อจะได้วาง  กลยุทธ์เชิงรุกในการดูแลประชาชนอย่างต่อเนื่อง ให้ประชาชนได้รับทราบภาวะสุขภาพของตนเองและลดความเสี่ยง รวมถึงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพให้มีสุขภาพแข็งแรง ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกระแสสินธุ์ และชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลกระแสสินธุ์ ตำบลกระแสสินธุ์ จึงให้ความสำคัญในการกำหนดมาตรการและกลวิธีการดำเนินการเชิงรุกที่จะส่งเสริมสุขภาพป้องกันควบคุมโรคและการให้บริการรักษาพยาบาลโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง และเพื่อให้ประชาชนทั่วไปได้ให้ความเอาใจใส่ต่อสุขภาพของตนเอง จึงได้จัดทำโครงการคัดกรองโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง ตำบลกระแสสินธุ์ ปี 2561 ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อตรวจคัดกรองสุขภาพและประเมินความเสี่ยงด้านสุขภาพของประชาชนอายุ 35 ปี ขึ้นไป และกระตุ้นให้ตระหนักต่อการดูแลสุขภาพของตนเองก่อนเกิดการเกิดโรค โดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข และอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.)
  2. เพื่อกำหนดมาตรการเชิงรุกในการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันควบคุมโรค การสนับสนุนการดูแลรักษา และให้บริการที่เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมายแต่ละกลุ่มที่คัดกรอง ซึ่งได้แก่กลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วย และกลุ่มป่วยที่มีภาวะแทรกซ้อน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ประชาชนมีความตระหนักในการจัดการและดูแลสุขภาพตนเอง รวมทั้งมีส่วนร่วมในการจัดการสิ่งแวดล้อมในชุมชนเพื่อลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ชุมชนมีศักยภาพเข้มแข็งในการดำเนินงานลดและควบคุมปัจจัยเสี่ยงให้เหมาะสมกับบริบทของชุมชน
    2. บุคลากรที่เกี่ยวข้องได้รับการเพิ่มพูนความรู้และทักษะในเรื่องการบริหารจัดการและวิธีการดูแลประชาชนกลุ่มเป้าหมายเพื่อลดปัญหาโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
    3. มีระบบข้อมูลข่าวสารเพื่อการเฝ้าระวัง ป้องกัน ติดตามและประเมินผล เชื่อมโยงระหว่างชุมชนกับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล อย่างต่อเนื่อง

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อตรวจคัดกรองสุขภาพและประเมินความเสี่ยงด้านสุขภาพของประชาชนอายุ 35 ปี ขึ้นไป และกระตุ้นให้ตระหนักต่อการดูแลสุขภาพของตนเองก่อนเกิดการเกิดโรค โดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข และอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.)
    ตัวชี้วัด : 1. ประชาชนอายุ 35 ปี ขึ้นไป ได้รับการคัดกรองเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง อย่างน้อย ร้อยละ 95 2. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูงได้รับการส่งต่อ ร้อยละ 100
    51880.00

     

    2 เพื่อกำหนดมาตรการเชิงรุกในการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันควบคุมโรค การสนับสนุนการดูแลรักษา และให้บริการที่เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมายแต่ละกลุ่มที่คัดกรอง ซึ่งได้แก่กลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วย และกลุ่มป่วยที่มีภาวะแทรกซ้อน
    ตัวชี้วัด : 1. กลุ่มเสี่ยงโรคไม่ติดต่อเรื้อรังได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม มากกว่า ร้อยละ 60 2. กลุ่มเสี่ยง DM/HT ที่เข้ารับการปรับเปลี่ยน สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้ มากกว่า ร้อยละ 35
    8000.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อตรวจคัดกรองสุขภาพและประเมินความเสี่ยงด้านสุขภาพของประชาชนอายุ 35 ปี ขึ้นไป และกระตุ้นให้ตระหนักต่อการดูแลสุขภาพของตนเองก่อนเกิดการเกิดโรค โดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข และอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) (2) เพื่อกำหนดมาตรการเชิงรุกในการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันควบคุมโรค การสนับสนุนการดูแลรักษา และให้บริการที่เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมายแต่ละกลุ่มที่คัดกรอง ซึ่งได้แก่กลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วย และกลุ่มป่วยที่มีภาวะแทรกซ้อน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการคัดกรองโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 61-L5162-2-01

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายพล ปิ่นทอง )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด