กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าข้าม


“ โครงการบวร รวมใจ จิตอาสาวัยใส ใส่ใจผู้สูงอายุบ้านท่าข้าม ปี2(สร้างจิตอาสาวัยใส) ”

ตำบลท่าข้าม อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางดวงรัตน์ วงศ์สว่างศิริ โรงเรียนวัดท่าข้าม ม.3 ต.ท่าข้าม อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา

ชื่อโครงการ โครงการบวร รวมใจ จิตอาสาวัยใส ใส่ใจผู้สูงอายุบ้านท่าข้าม ปี2(สร้างจิตอาสาวัยใส)

ที่อยู่ ตำบลท่าข้าม อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 60-50091-2-04 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 23 พฤศจิกายน 2559 ถึง 16 ธันวาคม 2559


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการบวร รวมใจ จิตอาสาวัยใส ใส่ใจผู้สูงอายุบ้านท่าข้าม ปี2(สร้างจิตอาสาวัยใส) จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าข้าม อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าข้าม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการบวร รวมใจ จิตอาสาวัยใส ใส่ใจผู้สูงอายุบ้านท่าข้าม ปี2(สร้างจิตอาสาวัยใส)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการบวร รวมใจ จิตอาสาวัยใส ใส่ใจผู้สูงอายุบ้านท่าข้าม ปี2(สร้างจิตอาสาวัยใส) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าข้าม อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 60-50091-2-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 23 พฤศจิกายน 2559 - 16 ธันวาคม 2559 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 7,775.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าข้าม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ประชากรโลกในปัจจุบันได้เปลี่ยนผ่านสู่ประชากรสูงวัย (อายุ 60 ปีขึ้นไป) กลุ่มประเทศพัฒนาแล้ว เช่น ประเทศสมาชิกในยุโรปอเมริกาเหนือ ได้เข้าสู่สังคมสูงวัยอย่างสมบูรณ์แล้ว (Population Reference Bureau, 2012) ในขณะที่บางประเทศในเอเชีย เช่น ญี่ปุ่น ได้เข้าสู่สังคมสูงวัยระดับสุดยอดแล้วเช่นกัน ประเทศไทยจัดอยู่ในกลุ่มสังคมสูงวัยของกลุ่มประเทศอาเซียนเป็นอันดับที่ 2 รองจากประเทศสิงคโปร์ จาก การสำรวจขององค์การสหประชาชาติพบว่าการเพิ่มขึ้นของประชากรผู้สูงอายุในประเทศไทยนี้มีระยะเวลาที่ ค่อนข้างสั้นหรือใช้เวลาเพียงประมาณ 20 ปี ในการเพิ่มสัดส่วนของประชากรผู้สูงอายุเป็นเท่าตัวในขณะที่ ประเทศที่พัฒนาแล้วส่วนใหญ่จะใช้เวลานานประมาณ 70 ปีขึ้นไป (ปราโมทย์ , 2556) จากการคาดการณ์ถึง โครงสร้างของประชากรไทยที่กาลังจะเปลี่ยนแปลงในอนาคต พบว่าแนวโน้มของจำนวนประชากรของประเทศ ไทยทั้งหมดจะเพิ่มขึ้นอย่างช้าๆและลดลงโดยมีการลดลงของประชากรในวัยก่อนเจริญพันธุ์และมีการเพิ่มขึ้น ของประชากรของผู้สูงอายุ เนื่องมาจากประเทศไทยมีระบบการแพทย์และสาธารณสุขที่มีประสิทธิภาพและ ทันสมัยทัดเทียมกับประเทศที่พัฒนาแล้ว ประชากรมีความรู้เกี่ยวกับภาวะโภชนาการที่ดีขึ้น ตลอดจนมีการ ดูแลรักษาสุขภาพที่ดีและนิยมหันมาออกกาลังกายเพื่อสุขภาพมากขึ้น(สานักงานสถิติแห่งชาติ , 2556) การ เปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรของไทยที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วในช่วง 3 - 4 ทศวรรษที่ผ่านมาทำให้ประเทศ เข้าสู่การเป็นสังคมผู้สูงวัย ตั้งแต่ประมาณปี 2543 - 2544 คือ มีประชากรอายุ 60 ปีคิดเป็นสัดส่วนมากกว่า ร้อยละ 10 ของประชากรทั้งหมด จากข้อมูลการคาดประมาณประชากรของประเทศไทยปี 2558 -2573 พบว่าภาพรวมประเทศไทยอยู่ในสถานการณ์ “สังคมสูงวัย” และในอีก 10 ปี ข้างหน้าจะเริ่มเข้าสู่สังคมสูงวัย อย่างสมบูรณ์ (สานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, 2557) นอกจากสัดส่วนผู้สูงอายุ ที่เพิ่มขึ้นแล้ว ยังมีอีกตัวบ่งชี้หนึ่งที่แสดงถึงการก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงวัยแล้ว นั่นคือ “ดัชนีการสูงวัย” ที่เป็น อัตราส่วนระหว่างร้อยละของจานวนประชากรสูงอายุต่อจานวนประชากรวัยเด็ก จากข้อมูลประชากรผู้ที่มี สัญชาติไทยและมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านจากทะเบียนราษฎร์ของสานักบริหารการทะเบียน กรมการปกครอง พบว่า ในปี พ.ศ. 2558 ดัชนีการสูงวัยของประเทศไทย คิดเป็นร้อยละ 67.44 และมีแนวโน้ มคาดการณ์ดัชนี การสูงวัยพ.ศ. 2563 - พ.ศ. 2573 คิดเป็น ร้อยละ 82.68- 90.35 จะเห็นได้ว่ามีแนวโน้มสูงขึ้น ซึ่งในจังหวัด
3 สงขลา มีจำนวนประชากรผู้สูงอายุมากถึง 177,401 คน คิดเป็นชาย 77,786 คนและหญิง 99,615 คนโดย ดัชนีการสูงวัยคิดเป็นร้อยละ 56.39 และจากฐานข้อมูล JHCIS รพ.สต. ท่าข้ามบ้านเขากลอยตกของหมู่ที่ 3 บ้านท่าข้ามพบว่า มีจานวนประชากรที่อาศัยอยู่จริงในหมู่บ้านทั้งหมด 1,092 คนโดยมีผู้สูงอายุ จานวน 226 คน คิดเป็นร้อยละ 20.70 ของประชากรทั้งหมด สืบเนื่องจากนักศึกษาพยาบาลศาสตร์ชั้นปีที่ 4 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ประจำปีการศึกษา 2558 ได้จัดทาโครงการ “บวร”รวมใจ สร้าง “จิตอาสาวัยใส”ใส่ใจผู้สูงอายุบ้านท่าข้าม (ปีที่ 1)ขึ้นซึ่งเป็นโครงการที่ ส่งเสริมสุขภาวะของผู้สูงอายุแบบองค์รวมทั้งด้านกาย จิต สังคมและจิตวิญญาณ โดยการส่งเสริมให้นักเรียน โรงเรียนวัดท่าข้ามได้มีส่วนร่วมในการดูแลและเห็นคุณค่าของผู้สูงอายุ สร้างจิตสานึกและปลูกฝังให้เกิดมี ทัศนคติที่ดี มีการเชิญพระคุณเจ้าจากวัดท่าข้ามมานาสวดเจริญพรเพื่อเสริมสร้างความสงบ สร้างสมาธิแก่ ผู้สูงอายุและผู้เข้าร่วมโครงการ มีการดูแล ช่วยเหลือและติดตามภาวะสุขภาพของผู้สูงอายุร่วมกับผู้นำชุมชนซึ่ง เป็นตัวแทนประชาชนสอดคล้องแนวคิด “บวร” ที่เป็นความร่วมแรงร่วมใจกันระหว่างบ้าน วัด โรงเรียน โดย ได้รับการตอบรับที่ดีจากประชาชนในชุมชน ทั้งนี้จากการทากระบวนการกลุ่มร่วมกับชุมชน ทางชุมชนจึงมีความประสงค์ให้จัดโครงการอย่าง ต่อเนื่องและทางโรงเรียนวัดท่าข้ามก็มีความสนใจและสนับสนุนให้นักเรียนเข้ามามีส่วนร่วมในการดูแลผู้สูงอายุ ประกอบกับจากการสำรวจข้อมูลในชุมชนของผู้สูงอายุพบว่า ยังมีผู้สูงอายุจานวนหนึ่งที่ยังขาดการดูแลอย่าง ทั่วถึง ทางคณะนักศึกษาพยาบาล ชั้นปีที่ 4 ปีการศึกษา 2559จึงเล็งเห็นว่า ปัญหาการดูแลผู้สู งอายุเป็นสิ่งที่ ควรตระหนักและให้ความใส่ใจอย่างต่อเนื่อง จึงจัดทาโครงการ “บวร”รวมใจ สร้าง “จิตอาสาวัยใส” ใส่ใจ ผู้สูงอายุบ้านท่าข้ามปี 2 โดยทางโรงเรียนวัดท่าข้ามได้มุ่งเน้นการปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรม ค่านิยมหลักของ คนไทย 12 ประการ ตามนโยบายของ คสช.ให้กับเยาวชน โดยเฉพาะ ความกตัญญูรู้คุณ และส่งเสริมให้กับ นักเรียนได้มีส่วนร่วมในการใช้ศักยภาพของตนเองในการดูแลและไปเยี่ยมผู้สูงอายุที่บ้านร่วมกับนักศึกษา พยาบาล และสนับสนุนให้มีการดาเนินกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง ทำให้ผู้สูงอายุได้รับการดูแลอย่างแท้จริงและเกิด สัมพันธภาพที่ดีต่อกันระหว่างผู้สูงอายุกับนักเรียนมากยิ่งขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 32
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ 32
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 32
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 96
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 32
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ 32
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 32
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการบวร รวมใจ จิตอาสาวัยใส ใส่ใจผู้สูงอายุบ้านท่าข้าม ปี2(สร้างจิตอาสาวัยใส) จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 60-50091-2-04

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางดวงรัตน์ วงศ์สว่างศิริ โรงเรียนวัดท่าข้าม ม.3 ต.ท่าข้าม อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด