กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บันนังสตา


“ ใส่ใจสุขภาพ ห่างไกลโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ”

ตำบลบันนังสตา อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวอามีเนาะ ประดู่

ชื่อโครงการ ใส่ใจสุขภาพ ห่างไกลโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง

ที่อยู่ ตำบลบันนังสตา อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 61-L8278-1-06 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 6 สิงหาคม 2561 ถึง 25 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"ใส่ใจสุขภาพ ห่างไกลโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบันนังสตา อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บันนังสตา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ใส่ใจสุขภาพ ห่างไกลโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง



บทคัดย่อ

โครงการ " ใส่ใจสุขภาพ ห่างไกลโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบันนังสตา อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 61-L8278-1-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 6 สิงหาคม 2561 - 25 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 53,840.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บันนังสตา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงมีแนวโน้มสูงขึ้นเรื่อยๆทุกปี สำหรับประเทศไทย  จากรายงานของสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์สำนักปลัดกระทรวงสาธารณสุขพบว่าอัตราป่วยด้วย        โรคความดันโลหิตสูง ต่อประชากร ๑๐๐,๐๐๐ คนในรอบ ๕ ปีที่ผ่านมา(พศ.๒๕๕๖-๒๕๖๐) เพิ่มขึ้นจาก ๑๒,๓๔๒.๑๔ (จำนวน ๓,๙๓๖,๑๗๑ คน) เป็น ๑๔,๙๒๖.๔๗ ( จำนวน ๕,๕๙๗,๖๗๑ คน ) และพบอัตรา    การป่วยรายใหม่ของโรคความดันโลหิตสูงต่อประชากร ๑๐๐,๐๐๐ คน ในรอบ ๓ ปีที่ผ่านมา (พศ. ๒๕๕๘-๒๕๖๐) เพิ่มขึ้นจาก ๙๑๖.๘๙ (จำนวน ๕๔๐,๐๑๓ คน) เป็น ๑,๓๕๓.๐๑ (จำนวน ๘๑๓,๔๘๕ คน) และสถานการณ์โรคเบาหวานมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง องค์การอนามัยโลก(WHO) รายงานว่าในปี ๒๕๕๒ ผู้ป่วยเบาหวาน  มีจำนวน ๑๐๘ ล้านคน เพิ่มขึ้นเป็น ๔๒๒ ล้านคนในปี ๒๕๕๗ มีผู้เสียชีวิตจากโรคเบาหวาน๑.๕ ล้านคน สำหรับประเทศไทยจากรายงานของสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์สำนักปลัดกระทรวงสาธารณสุขพบว่าอัตราตายด้วยโรคเบาหวานต่อประชากรแสนคน ในภาพรวมของประเทศในปี2556-2558 เท่ากับ ๑๔.๙๓, ๑๗.๕๓ และ๑๗.๘๓ ตามลำดับ เห็นได้ว่าอัตราการตายด้วยโรคเบาหวานเพิ่มขึ้นทุกปี
    สำหรับข้อมูลสถานการณ์โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงของจังหวัดยะลาปี ๒๕๕๖-๒๕๕๙ พบว่า  อัตราป่วยด้วยโรคเบาหวานเพิ่มขึ้นจาก ๒,๒๕๒ เป็น ๓,๐๙๔.๗ ต่อแสนประชากร ส่วนอัตราป่วยด้วย      โรคความดันโลหิตสูงเพิ่มขึ้นจาก ๖,๒๕๖.๑ เป็น ๘,๓๔.๔ ต่อแสนประชากร และข้อมูลอัตราป่วยด้วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ของอำเภอบันนังสตาปี ๒๕๕๘-๒๕๖๐ พบว่าอัตราป่วยด้วยโรคเบาหวานรายใหม่เพิ่มขึ้นจาก ๑๓๖.๔๓ เป็น ๑๗๕.๗๓ ต่อแสนประชากรและอัตราป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่เพิ่มขึ้นจาก ๕๒๕.๔๙ เป็น ๕๔๗.๒๕ ต่อแสนประชากร (คลังข้อมูล HDC:๒๕๖๑) และจากข้อมูลการคัดกรองโรคเบาหวานและ      ความดันโลหิตสูงในประชาชนอายุ35ปีขึ้นไปในอำเภอบันนังสตาปี ๒๕๖๐-๒๕๖๑ พบกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงเพิ่มขึ้นจากร้อยละ๑๒.๙๙ (จำนวน๑,๘๕๕ คน) เป็นร้อยละ ๒๐.๒๘(จำนวน๓,๐๑๕ คน) และกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานเพิ่มขึ้นจากร้อยละ๓.๖๓(จำนวน ๕๙๑ คน)เป็นร้อยละ๑๐.๙๗(จำนวน ๑,๘๔๔ คน) ซึ่งจะเห็นว่า  มีแนวโน้มสูงขึ้นเรื่อยๆ เมื่อวิเคราะห์ถึงสาเหตุที่แท้จริงพบว่ามีความสอดคล้องกับพฤติกรรมสุขภาพในเรื่องการรับประทานอาหารและการออกกำลังกาย จากข้อมูลการสำรวจพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงด้วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง โรงพยาบาลบันนังสตา  ปี ๒๕๖๑ มีพฤติกรรมกินเค็มทุกวันร้อยละ ๒๘.๕๗ กินหวานทุกวันร้อยละ ๒๓.๑๙ พฤติกรรมการกินผักไม่ครบ  ๗ วันร้อยละ ๒๒.๘๕ พฤติกรรมการไม่ออกกำลังกายร้อยละ ๒๘.๕๗ จากข้อมูลที่พบจะเห็นได้ว่าการมีพฤติกรรม    ไม่เหมาะสม จะส่งผลให้มีภาวะการเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงขึ้นเรื่อยๆ หน่วยบริการปฐมภูมิ โรงพยาบาลบันนังสตา จึงได้หาแนวทางแก้ปัญหาที่พบโดยการจัดทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงโดยจัดกิจกรรมต่างๆให้มีผลต่อการพัฒนาพฤติกรรมของกลุ่มเสี่ยงการพัฒนาทักษะเพื่อให้สามารถปฏิบัติตัวในการป้องกันโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงและส่งเสริมให้มีปัจจัยต่างๆที่เอื้อต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของผู้ป่วย กิจกรรมดังกล่าวน่าจะส่งผลให้กลุ่มเสี่ยงสามารถป้องกันการโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงรายใหม่ได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 400
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 400
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 400
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ใส่ใจสุขภาพ ห่างไกลโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง จังหวัด ยะลา

    รหัสโครงการ 61-L8278-1-06

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวอามีเนาะ ประดู่ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด