กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เทพา


“ โครงการดูแลและส่งเสริมสุขภาพเพื่อประชาชนในชุมชนหมู่ที่ 3 บ้านพรุหมาก-เกาะครก ”

ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายดลเลาะ เหล็มและ

ชื่อโครงการ โครงการดูแลและส่งเสริมสุขภาพเพื่อประชาชนในชุมชนหมู่ที่ 3 บ้านพรุหมาก-เกาะครก

ที่อยู่ ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-8287-2-17 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 21 กรกฎาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการดูแลและส่งเสริมสุขภาพเพื่อประชาชนในชุมชนหมู่ที่ 3 บ้านพรุหมาก-เกาะครก จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เทพา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการดูแลและส่งเสริมสุขภาพเพื่อประชาชนในชุมชนหมู่ที่ 3 บ้านพรุหมาก-เกาะครก



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการดูแลและส่งเสริมสุขภาพเพื่อประชาชนในชุมชนหมู่ที่ 3 บ้านพรุหมาก-เกาะครก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61-8287-2-17 ระยะเวลาการดำเนินงาน 21 กรกฎาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 39,050.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เทพา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

คุณภาพชีวิต ถือได้ว่าเป็นเป้าหมายหลักของสังคมคือประชาชนมีสุขภาพอนามัยดีทั้งร่างกายและจิตใจ ทุกเพศทุกวัย จากการศึกษาข้อมูลพบว่าประชากรผู้สูงอายุมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทั้งด้านปริมาณและสัดส่วนต่อประชากร กระทรวงสาธารณสุข ได้กำหนดนโยบายให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรงตามวัย ขยายโอกาสดำรงชีวิตอย่างมีคุณค่า ดังนั้น การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่ทุกฝ่ายจะต้องร่วมมืออย่างจริงจังและต่อเนื่องในการเตรียมความพร้อมให้ผู้สูงอายุทุกคนตลอดจนบุคคลในครอบครัวและชุมชน จากสภาพปัญหาด้านสุขภาพของประชาชนในปัจจุบัน นับว่าเป็นปรากฏการณ์ของปัญหาใหม่ที่สำคัญปัญหาหนึ่งที่ไม่สามารถจะมองข้ามได้ เนื่องจากปัญหาด้านสุขภาพจะส่งผลกระทบต่อปัญหาอื่น ๆ อีกมากมาย เช่น ปัญหาด้านเศรษฐกิจ สังคม การศึกษา สุขภาพ เป็นต้น ปัจจุบันปัญหาด้านสุขภาพของประชาชนเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ โรคความดันโลหิต เบาหวาน เป็นต้น หากขาดการดูแลเอาใจใส่อาจส่งผลถึงชีวิตในที่สุดโรคที่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่ดีของบุคคล เช่น โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคกระดูกและข้อ ตลอดจนปัญหาอุบัติเหตุต่าง ๆ แม้ว่าจะเป็นอุบัติเหตุจากการทำงานอุบัติเหตุจากการจราจรบนท้องถนน โรคและอุบัติเหตุต่าง ๆ เหล่านี้ยังเป็นปัญหาใหญ่ของประเทศในด้านการส่งเสริมสุขภาพ การได้รับบริการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคจากสถานบริการสาธารณสุข ซึ่งประชาชนและชุมชนไม่สามารถพึ่งตนเองได้ในการดูแลสุขภาพเบื้องต้น แม้ว่ากระทรวงสาธารณสุข และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้พยายามที่จะแก้ไขปัญหาเหล่านี้ ซึ่งหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจำเป็นต้องอาศัยกลยุทธ์ในการส่งเสริม ควบคุม ป้องกัน รักษาและฟื้นฟู เพื่อแก้ไขปัญหาสุขภาพของประชาชนในชุมชน การแก้ไขปัญหาสุขภาพที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน จำเป็นต้องส่งเสริมการมีส่วนร่วมทุกภาคส่วน ทั้งหน่วยภาครัฐ องค์กรชุมชน ผู้นำชุมชนและอาสาสมัครสาธารณสุข ตลอดจนประชาชนทั่วไปในพื้นที่ให้เข้ามามีส่วนร่วมและตระหนักในการแก้ไขปัญหาร่วมกันเป็นสำคัญ เพื่อให้ชุมชนเกิดความตระหนัก และมีส่วนร่วมในการแก้ปัญหา ก่อให้เกิดการพัฒนาจนสามารถพึ่งพาตนเองแบบยั่งยืนได้ ชมรมคนรักษ์หมู่ 3 ได้จัดโครงการดูแลและส่งเสริมสุขภาพเพื่อประชาชนในชุมชนหมู่ที่ 3 บ้านพรุหมาก-เกาะครก เพื่อให้องค์การภาคประชาชนด้านสุขภาพมีส่วนร่วม และเป็นแกนนำหลักในการดำเนินงานเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพในชุมชน และเพื่อเชื่อมโยงการดำเนินงานด้านสุขภาพ การแลกเปลี่ยนความรู้ด้านสุขภาพระหว่างองค์กรภาครัฐ ผู้นำชุมชน เครือข่ายภาคประชาชนด้านสุขภาพในระดับชุมชน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้องค์การภาคประชาชนด้านสุขภาพมีส่วนร่วม และเป็นแกนนำหลักในการดำเนินงานเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพในชุมชน
  2. 2.2 เพื่อเชื่อมโยงการดำเนินงานด้านสุขภาพ การแลกเปลี่ยนความรู้ด้านสุขภาพระหว่างองค์กรภาครัฐ ผู้นำชุมชน เครือข่ายภาคประชาชนด้านสุขภาพในระดับชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. แลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องโภชนาการ การดูแลสุขภาพฟัน ในเด็กนักเรียนตาดีกา
  2. แลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุโดยการสนับสนุนของครอบครัวและชุมชน
  3. แลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องการป้องกันยาเสพติดในกลุ่มเยาวชน
  4. 4 กิจกรรมย้อนรอยคนหมู่ 3 รักษ์สุขภาพ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 500
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. องค์การภาคประชาชนด้านสุขภาพมีส่วนร่วม และเป็นแกนนำหลักในการดำเนินงานเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพในชุมชน
  2. เป็นการเชื่อมโยงการดำเนินงานด้านสุขภาพ การแลกเปลี่ยนความรู้ด้านสุขภาพระหว่างองค์กรภาครัฐ ผู้นำชุมชน เครือข่ายภาคประชาชนด้านสุขภาพในระดับชุมชน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. แลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องโภชนาการ การดูแลสุขภาพฟัน ในเด็กนักเรียนตาดีกา

วันที่ 21 กรกฎาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

แลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องโภชนาการ การดูแลสุขภาพฟัน ในเด็กนักเรียนตาดีกา โดย 1. คืนข้อมูลสุขภาพโภชนาการ สุขภาพฟัน โดยเจ้าหน้าที่ทันตกรรม โรงพยาบาลเทพา 2. ร่วมหาแนวทางแก้ไขปัญหา

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องโภชนาการ การดูแลสุขภาพฟัน ในเด็กนักเรียนตาดีกา เมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม 2561  ณ  ศูนย์การศึกษาอิสลามประจำมัสยิด(ตาดีกา) เกาะครก  หมู่ที่ 3 อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา มีผู้เข้าร่วม 125 คน

 

120 0

2. แลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุโดยการสนับสนุนของครอบครัวและชุมชน

วันที่ 30 กรกฎาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

แลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุโดยการสนับสนุนของครอบครัวและชุมชน โดย 1. ประชาสัมพันธ์กิจกรรมเรื่องการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ 2. ให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ 3. ร่วมหาแนวทางแก้ไขปัญหา

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุโดยการสนับสนุนของครอบครัวและชุมชน เมื่อวันที่ 30 กรกฎาคม 2561  ณ  อาคารเอนกประสงค์บ้านพรุหมาก  หมู่ที่ 3 อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา  มีผู้เข้าร่วม 85 คน มีการเชิญวิทยากร จากโรงพยาบาลเทพา  มาให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ

 

80 0

3. แลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องการป้องกันยาเสพติดในกลุ่มเยาวชน

วันที่ 7 สิงหาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

แลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องการป้องกันยาเสพติดในกลุ่มเยาวชน โดย 1. ประชาสัมพันธ์กิจกรรมเรื่องการป้องกันยาเสพติดในกลุ่มเยาวชน 2. ให้ความรู้เรื่องยาเสพติด และการป้องกันยาเสพติดในกลุ่มเยาวชน 3. ร่วมหาแนวทางแก้ไขปัญหา

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องการป้องกันยาเสพติดในกลุ่มเยาวชน เมื่อวันที่ 7 สิงหาคม  2561  ณ อาคารผู้สูงอายุ โรงพยาบาลเทพา อำเภอเทพา  จังหวัดสงขลา มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 53 คน  มีการเชิญวิทยากร จากโรงพยาบาลเทพา  มาแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องการป้องกันยาเสพติดในชุมชน  ได้ร่วมกันกำหนดวิสัยทัศน์ (Vision) และพันธกิจ (Mission) - เยาวชนมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการป้องกันยาเสพติด - ลดผุ้เสพรายใหม่ในชุมชน

 

50 0

4. 4 กิจกรรมย้อนรอยคนหมู่ 3 รักษ์สุขภาพ

วันที่ 17 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมย้อนรอยคนหมู่ 3 รักษ์สุขภาพ
1. ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง  วัดรอบเอว ตรวจวัดความดันโลหิตแก่ผู้เข้าร่วมโครงการ 2. การแสดงบนเวที การแสดงนิทรรศการ  และการประกวดเมนูอาหารสุขภาพ 3. การให้ความรู้ด้านสุขภาพ บริการให้คำปรึกษาด้านสุขภาพ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • กิจกรรมย้อนรอย คนรักษ์หมู่ 3  เมื่อวันที่ 17 กันยายน 2561 ณ มัสยิดฟูหล่าหลนนาอีม  วันนี้มีผู้เข้าร่วม 250 คน  มีกิจกรรมการกวนอาชูรอเพื่อสุขภาพ  กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การเสวนาการดูแลสุขภาพ ของบุคคลต้นแบบกิจกรรมเกมมหาสนุก และกิจกรรมให้ความรู้เรื่องการปฏิบัติตนสำหรับการป้องกันโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง 6.2    ผลลัพธ์:
  • เกิดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องโภชนาการ การดูแลสุขภาพฟัน ในเด็กนักเรียนตาดีกา
    • เกิดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุโดยการสนับสนุนของครอบครัวและชุมชน
    • เยาวชนมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการป้องกันยาเสพติด
    • ลดผุ้เสพรายใหม่ในชุมชน         - เกิดบุคคลต้นแบบด้านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคและภาวะแทรกซ้อนของโรค

 

250 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้องค์การภาคประชาชนด้านสุขภาพมีส่วนร่วม และเป็นแกนนำหลักในการดำเนินงานเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพในชุมชน
ตัวชี้วัด : เกิดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุโดยการสนับสนุนของครอบครัวและชุมชน
3.00

 

2 2.2 เพื่อเชื่อมโยงการดำเนินงานด้านสุขภาพ การแลกเปลี่ยนความรู้ด้านสุขภาพระหว่างองค์กรภาครัฐ ผู้นำชุมชน เครือข่ายภาคประชาชนด้านสุขภาพในระดับชุมชน
ตัวชี้วัด : มีการเชื่อมโยงการดำเนินงานด้านสุขภาพ การแลกเปลี่ยนความรู้ด้านสุขภาพระหว่างองค์กรภาครัฐ ผู้นำชุมชน เครือข่ายภาคประชาชนด้านสุขภาพในระดับชุมชน
3.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 500
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 500
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้องค์การภาคประชาชนด้านสุขภาพมีส่วนร่วม และเป็นแกนนำหลักในการดำเนินงานเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพในชุมชน (2) 2.2 เพื่อเชื่อมโยงการดำเนินงานด้านสุขภาพ การแลกเปลี่ยนความรู้ด้านสุขภาพระหว่างองค์กรภาครัฐ ผู้นำชุมชน เครือข่ายภาคประชาชนด้านสุขภาพในระดับชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) แลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องโภชนาการ การดูแลสุขภาพฟัน ในเด็กนักเรียนตาดีกา (2) แลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุโดยการสนับสนุนของครอบครัวและชุมชน (3) แลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องการป้องกันยาเสพติดในกลุ่มเยาวชน (4) 4 กิจกรรมย้อนรอยคนหมู่ 3 รักษ์สุขภาพ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการดูแลและส่งเสริมสุขภาพเพื่อประชาชนในชุมชนหมู่ที่ 3 บ้านพรุหมาก-เกาะครก จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-8287-2-17

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายดลเลาะ เหล็มและ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด