กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการอบรมพัฒนาศักยภาพแกนนำชมรมผู้สูงวัยใส่ใจสุขภาพ ”
อำเภอกระแสสินธุ์ จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นางฐิตาภา โนภาส




ชื่อโครงการ โครงการอบรมพัฒนาศักยภาพแกนนำชมรมผู้สูงวัยใส่ใจสุขภาพ

ที่อยู่ อำเภอกระแสสินธุ์ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-L5162-1-04 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2561 ถึง 30 ธันวาคม 2561

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอบรมพัฒนาศักยภาพแกนนำชมรมผู้สูงวัยใส่ใจสุขภาพ จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอกระแสสินธุ์ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลกระแสสินธุ์ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมพัฒนาศักยภาพแกนนำชมรมผู้สูงวัยใส่ใจสุขภาพ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอบรมพัฒนาศักยภาพแกนนำชมรมผู้สูงวัยใส่ใจสุขภาพ " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอกระแสสินธุ์ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61-L5162-1-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2561 - 30 ธันวาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 13,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลกระแสสินธุ์ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียงปัจจุบันเป็นปัญหาใหญ่ทั่วโลก ประเทศไทยให้ความสนใจการแก้ปัญหาผู้สูงอายุอย่างเป็นระบบมานานแล้ว โดยมีแผนผู้สูงอายุแห่งชาติเป็นแผนระยะยาว 20 ปี ฉบับแรกมาตั้งแต่ปี 2525 ในสมัยรัฐบาล พล.อ.เปรม ติณสูลานนท์ ปัจจุบันเป็นแผนฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2545-2564) และมีกฎหมายเฉพาะ คือ พ.ร.บ.ผู้สูงอายุมาตั้งแต่ พ.ศ. 2546 แต่ระบบการดูแลผู้สูงอายุที่ต้องอยู่ในภาวะพึ่งพิง คือประเภทติดบ้าน ติดเตียงยังต้องการการพัฒนาอีกมาก การดูแลผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียงแบ่งกว้างๆ เป็น 4 ระดับ คือ (1) การดูแลรักษาในโรงพยาบาล (2) การดูแลในสถานดูแล ผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียง (3) การดูแลในชุมชน และ (4) การดูแลที่บ้าน ซึ่งการดูแลในชุมชนและที่บ้านจะต้องมีการจัดระบบบริการเพื่อสนับสนุน ได้แก่ (1) การเยี่ยมบ้านเพื่อดูแลด้านการพยาบาล (2) การเยี่ยมบ้านเพื่อการดูแลทั่วไป (3) สถานดูแลกลางวัน (4) การบริการฟื้นฟูสภาพแบบผู้ป่วยนอก และ (5) การดูแลระยะสั้น
ปัจจุบันในประเทศไทยมีระบบการดูแลที่พัฒนาขึ้นหลากหลายและเน้นการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว เช่น (1) โรงพยาบาลบางแห่งเปิดแผนกบริการดูแลผู้สูงอายุติดเตียงขึ้นเป็นการเฉพาะ (2) มีสถานรับเลี้ยงดูผู้สูงอายุรวมกับ ผู้ป่วยติดเตียงอื่น (3) มีบริการส่งพนักงานไปดูแลประจำตามบ้าน เป็นต้น โดยบริการเหล่านี้มีค่าใช้จ่ายสูงทั้งสิ้น รวมทั้งที่แต่ละบ้านใช้ญาติดูแลกันเอง โดยลูกหลานบางคนต้องลาออกจากงานมาดูแลผู้สูงอายุ และจำนวนมากที่จ้างแรงงานต่างชาติมาช่วยดูแล ปัญหานี้เป็นปัญหาใหญ่และยากสำหรับแต่ละครอบครัวจะแบกรับและแก้ปัญหาด้วยตนเอง เพราะปัจจุบันครอบครัวไทยมีแนวโน้มเปลี่ยนจากครอบครัวขยายเป็นครอบครัวเดี่ยวมากขึ้น เนื่องจากแต่ละครอบครัวมีลูกน้อยลง แม่บ้านต้องไปทำงานประจำนอกบ้านมากขึ้น พ่อแม่จึงพึ่งพาลูกได้น้อยลง ผู้สูงอายุจึงต้องอยู่ตามลำพัง  ดังนั้นการมุ่งเน้นการแก้ปัญหานี้แบบระยะยาว โดย (1) มุ่งเน้นการสร้างความเข้มแข็งของครอบครัวและชุมชน (2) เพื่อให้เสียค่าใช้จ่ายโดยประหยัดและไม่สร้างภาระที่เกินกำลังในระยะยาว     โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกระแสสินธุ์ อำเภอกระแสสินธุ์ จังหวัดสงขลา รับผิดชอบดูแลผู้สูงอายุตำบลกระแสสินธุ์ จำนวน 675 คน แบ่งเป็น ผู้สูงอายุติดเตียง 8 คน ติดบ้าน 23 คน และติดสังคม 644 คน ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของดูแลและส่งเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุระยะยาว โดยการพัฒนาศักยภาพของแกนนำชุมชน อาสาสมัคร และผู้ดูแลผู้สูงอายุกลุ่มติดบ้าน ติดเตียง เพื่อมุ่งหวังให้ผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียงได้รับการดูแลสุขภาพทั้งด้านร่างกาย จิตใจและสังคม โดยการมีส่วนร่วมของชุมชนเอง จึงได้จัดทำโครงการอบรมพัฒนาศักยภาพแกนนำชมรมผู้สูงวัยใส่ใจสุขภาพขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1 เพื่อให้แกนนำ/อาสาสมัคร/ผู้ดูแลผู้สูงอายุมีความรู้และทักษะการดูแลและส่งเสริมสุขภาพด้านสุขภาพกายและสุขภาพจิตของผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียง
  2. 2 เพื่อให้ผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียงได้รับการดูแลสุขภาพกาย สุขภาพจิตอย่างสม่ำเสมอ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ 675
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. แกนนำ/อาสาสมัคร/ผู้ดูแลผู้สูงอายุ ผู้สูงอายุ มีความรู้ในการดูแลและส่งเสริมสุขภาพทั้งด้านร่างกายและจิตใจของผู้สูงอายุที่ถูกต้อง ตลอดจนสามารถเผยแพร่ความรู้ที่ได้รับแก่เพื่อนผู้สูงอายุในชมรมได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
    2. ผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียงได้รับการดูแลสุขภาพจากแกนนำ/อาสาสมัคร/ผู้ดูแลผู้สูงอายุ

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1 เพื่อให้แกนนำ/อาสาสมัคร/ผู้ดูแลผู้สูงอายุมีความรู้และทักษะการดูแลและส่งเสริมสุขภาพด้านสุขภาพกายและสุขภาพจิตของผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียง
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    2 2 เพื่อให้ผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียงได้รับการดูแลสุขภาพกาย สุขภาพจิตอย่างสม่ำเสมอ
    ตัวชี้วัด : 1. ผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียง ได้รับการเยี่ยมดูแล ตามเกณฑ์
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 675
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ 675
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1 เพื่อให้แกนนำ/อาสาสมัคร/ผู้ดูแลผู้สูงอายุมีความรู้และทักษะการดูแลและส่งเสริมสุขภาพด้านสุขภาพกายและสุขภาพจิตของผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียง  (2) 2  เพื่อให้ผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียงได้รับการดูแลสุขภาพกาย สุขภาพจิตอย่างสม่ำเสมอ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการอบรมพัฒนาศักยภาพแกนนำชมรมผู้สูงวัยใส่ใจสุขภาพ จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 61-L5162-1-04

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางฐิตาภา โนภาส )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด