กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านกลาง


“ โครงการผักข้างศูนย์ อาหารข้างรั้ว ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง หลีกเลี่ยงสารเคมี ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2561 ”

ณ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบางมะรวด ม.1 ตำบลบ้านกลาง อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านกลาง

ชื่อโครงการ โครงการผักข้างศูนย์ อาหารข้างรั้ว ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง หลีกเลี่ยงสารเคมี ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2561

ที่อยู่ ณ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบางมะรวด ม.1 ตำบลบ้านกลาง อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 12 กันยายน 2561 ถึง 12 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการผักข้างศูนย์ อาหารข้างรั้ว ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง หลีกเลี่ยงสารเคมี ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2561 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ณ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบางมะรวด ม.1 ตำบลบ้านกลาง อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านกลาง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการผักข้างศูนย์ อาหารข้างรั้ว ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง หลีกเลี่ยงสารเคมี ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการผักข้างศูนย์ อาหารข้างรั้ว ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง หลีกเลี่ยงสารเคมี ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ณ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบางมะรวด ม.1 ตำบลบ้านกลาง อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 12 กันยายน 2561 - 12 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 17,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านกลาง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ด้วยปัจจุบัน ปัญหาสุขภาพมีสาเหตุที่สำคัญมาจากการบริโภคอาหารที่ไม่ถูกสุขลักษณะ อาหารที่มีการปลอมปนสารเคมี หรือผัก-ผลไม้ที่ไม่ปลอดภัยมีสารพิษ เพราะผู้ผลิตใช้สารกำจัดศัตรูพืชอย่างไม่ถูกวิธี ทำให้สารเคมี ที่เป็นโทษเหล่านั้นตกค้างอยู่กับผู้บริโภคทั้งทางตรงและทางอ้อม ซึ่งเป็นปัญหาสำคัญของโภชนาการด้านสุขภาพ การดูแลรักษาเมื่อเกิดกรณีเจ็บป่วย ซึ่งเป็นภาระที่รัฐบาลจะต้องเสียงบประมาณในการดำเนินการเป็นอันมากและเป็นการแก้ปัญหาที่ปลายเหตุ เนื่องจากต้นเหตุของปัญหาสุขภาพ ที่สำคัญมีสาเหตุมาจากการบริโภคอาหารที่ไม่ถูกสุขลักษณะ อาหารที่มีการปลอมปน ทำให้สารเคมีที่เป็นโทษเหล่านั้นตกอยู่กับผู้บริโภคอย่างยากที่จะหลีกเลี่ยงได้ และการซื้อผักจากท้องตลาดนั้นค่อนข้างมีราคาแพงและอาจมีสารเคมีตกค้าง การปลูกพืชผักสวนครัวไว้กินเองนั้นถือเป็นการสำรองอาหารอีกวิธีหนึ่ง โดยยึดแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาดำเนินชีวิต ปลูกพืชผักปลอดสารพิษ ใช้ปุ๋ยอินทรีย์ที่ไม่เป็นอันตรายที่มีในชุมชนในครัวเรือน จากปัญหาดังกล่าวข้างต้น เพื่อให้เด็กเล็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบางมะรวด มีความปลอดภัยด้านรับประทานอาหารและเสริมสร้างสุขนิสัยที่ดี เลือกรับประทานอาหารที่ดีมีประโยชน์และรู้จักกับสิ่งแวดล้อมรอบๆตัวอย่างมีคุณภาพ จึงต้องอาศัยองค์ประกอบทั้งในส่วนการส่งเสริมให้ความรู้แก่ผู้ดำเนินการประกอบอาหาร ผู้ปกครอง มีการจัดกิจกรรมอาหารกลางวันให้กับเด็กภายในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กจึงได้หาแนวทางในการป้องกันปัญหาที่เป็นการแก้ที่ต้นเหตุ แบบยั่งยืน คือการส่งเสริมการปลูกผักเพื่อบริโภคในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและต่อยอดไปในครัวเรือนของเด็ก รวมทั้งรู้จักการนำเศษอาหารที่ทานไม่หมดหรือขยะอินทรีย์นำไปใช้ประโยชน์ทั้งในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและครัวเรือน ซึ่งเป็นหนทางหนึ่งที่จะช่วยให้เด็กได้รับสารอาหารที่ดีมีประโยชน์และรู้จักการใช้ประโยชน์จากขยะอินทรีย์ ตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง อย่างแท้จริง เพื่อการมีสุขอนามัยและสุขภาพที่ดี มีพัฒนาการสมวัยมีภูมิต้านทานโรคที่ดี ทำให้เด็กเล็กได้รับประทานผักที่ปลอดสารพิษอีกด้วย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้เด็กเล็กได้เรียนรู้และรู้จักการปลูก ประโยชน์ของพืชผัก สมุนไพรในการบริโภคให้ปลอดสารเคมี 2. เพื่อเสริมสร้างสุขนิสัยที่ดี ในการรับประทานอาหาร อาหารดีมีประโยชน์ ครบตามหลักโภชนาการ 3. เพื่อให้มีแหล่งเรียนรู้ให้กับเด็กเล็กด้านการเกษตรผสมผสานในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 4. เพื่อส่งเสริมการดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ด้วยกิจกรรมร่วมกันระหว่างผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครองและเด็ก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมชี้แจงแก่คณะทำงานระหว่างครูผู้ดูแลเด็กและผู้ปกครอง คณะกรรมการฯ 2. เก็บรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับการจัดซื้อผักและการปรุงอาหารโดยมีผักเป็นส่วนประกอบ 3. จัดกิจกรรมให้ครูศึกษาความรู้ในการปลูกผักสวนครัวและศึกษาสภาพดิน อุปกรณ์ในการปลูกผัก 4. จัดกิจ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 62
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1 เด็กเล็กได้เรียนรู้และรู้จักการปลูก ประโยชน์ของพืชผัก สมุนไพรในการบริโภคผักปลอดสารพิษ
2 เสริมสร้างสุขนิสัยที่ดี อาหารดีมีประโยชน์ ครบตามหลักโภชนาการ
3 มีแหล่งเรียนรู้ให้กับเด็กเล็กด้านการเกษตรผสมผสานในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 4 ส่งเสริมการดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ด้วยกิจกรรมร่วมกันระหว่างผู้ดูแลเด็ก
  ผู้ปกครองและเด็ก


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมชี้แจงแก่คณะทำงานระหว่างครูผู้ดูแลเด็กและผู้ปกครอง คณะกรรมการฯ 2. เก็บรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับการจัดซื้อผักและการปรุงอาหารโดยมีผักเป็นส่วนประกอบ 3. จัดกิจกรรมให้ครูศึกษาความรู้ในการปลูกผักสวนครัวและศึกษาสภาพดิน อุปกรณ์ในการปลูกผัก 4. จัดกิจ

วันที่ 12 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

  1. ประชุมชี้แจงแก่คณะทำงานระหว่างครูผู้ดูแลเด็กและผู้ปกครอง คณะกรรมการฯ
  2. เก็บรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับการจัดซื้อผักและการปรุงอาหารโดยมีผักเป็นส่วนประกอบ
  3. จัดกิจกรรมให้ครูศึกษาความรู้ในการปลูกผักสวนครัวและศึกษาสภาพดิน อุปกรณ์ในการปลูกผัก
  4. จัดกิจกรรมให้เด็กเล็กและผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการปลูกผักปลอดสารพิษ
  5. จัดกิจกรรมการส่งเสริมการรับประทานผักที่ปลอดสารพิษและนำผักที่ปลูกมาประกอบอาหาร
  6. จัดกิจกรรมการส่งเสริมให้มีการปลูกผักปลอดสารพิษในครัวเรือนของเด็กเล็ก
  7. ประเมินผลและสรุปโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จากงบประมาณกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลบ้านกลาง วมเป็นเงินทั้งสิ้น 17,400. บาท เพื่อประมาณค่าใช้จ่าย ดังนี้ 5.1  ค่าอาหารกลางวันสำหรับกลุ่มเป้าหมาย 62 คน 1 มื้อๆละ 50 บาท              เป็นเงิน 3,100. บาท 5.2  ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับกลุ่มเป้าหมายผู้ปกครอง ผู้ดูแลเด็ก คณะกรรมการ สปสช.และ       เจ้าหน้าที่โครงการฯ จำนวน  62  คน จำนวน 2 มื้อๆละ  25 บาท              เป็นเงิน 3,100.- บาท 5.3  ค่าวัสดุอุปกรณ์เพื่อดำเนินการ เช่น เมล็ดพันธุ์ ค่าถุงปลูก แปรงปลูก ดินปลูก
      ปุ๋ย บัวรดน้ำ ผลัว จอบ ฯลฯ         เป็นเงิน 88,00.- บาท 5.4  ค่าตอบแทนวิทยากร  2  ชั่วโมงๆละ 600 บาท                                      เป็นเงิน 1,200.- บาท 5.5  ค่าป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์โครงการ(ขนาด 1.x2.4 ม.=1 ป้าย) และป้ายอะคริลิค                 (ขนาด 1 x 2.4 ฟุต = 1 ป้าย)                                                            เป็นเงิน 1,200.  บาท                                           รวมเป็นเงินทั้งสิ้น  17,400 . บาท

 

62 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้เด็กเล็กได้เรียนรู้และรู้จักการปลูก ประโยชน์ของพืชผัก สมุนไพรในการบริโภคให้ปลอดสารเคมี 2. เพื่อเสริมสร้างสุขนิสัยที่ดี ในการรับประทานอาหาร อาหารดีมีประโยชน์ ครบตามหลักโภชนาการ 3. เพื่อให้มีแหล่งเรียนรู้ให้กับเด็กเล็กด้านการเกษตรผสมผสานในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 4. เพื่อส่งเสริมการดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ด้วยกิจกรรมร่วมกันระหว่างผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครองและเด็ก
ตัวชี้วัด : 1. เพื่อให้เด็กเล็กได้เรียนรู้และรู้จักการปลูก ประโยชน์ของพืชผัก สมุนไพรในการบริโภคให้ปลอดสารเคมี 2. เพื่อเสริมสร้างสุขนิสัยที่ดี ในการรับประทานอาหาร อาหารดีมีประโยชน์ ครบตามหลักโภชนาการ 3. เพื่อให้มีแหล่งเรียนรู้ให้กับเด็กเล็กด้านการเกษตรผสมผสานในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 4. เพื่อส่งเสริมการดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ด้วยกิจกรรมร่วมกันระหว่างผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครองและเด็ก
1.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 62
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 62
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้เด็กเล็กได้เรียนรู้และรู้จักการปลูก ประโยชน์ของพืชผัก สมุนไพรในการบริโภคให้ปลอดสารเคมี  2. เพื่อเสริมสร้างสุขนิสัยที่ดี ในการรับประทานอาหาร อาหารดีมีประโยชน์ ครบตามหลักโภชนาการ 3. เพื่อให้มีแหล่งเรียนรู้ให้กับเด็กเล็กด้านการเกษตรผสมผสานในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 4. เพื่อส่งเสริมการดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ด้วยกิจกรรมร่วมกันระหว่างผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครองและเด็ก

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมชี้แจงแก่คณะทำงานระหว่างครูผู้ดูแลเด็กและผู้ปกครอง คณะกรรมการฯ 2. เก็บรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับการจัดซื้อผักและการปรุงอาหารโดยมีผักเป็นส่วนประกอบ 3. จัดกิจกรรมให้ครูศึกษาความรู้ในการปลูกผักสวนครัวและศึกษาสภาพดิน อุปกรณ์ในการปลูกผัก 4. จัดกิจ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการผักข้างศูนย์ อาหารข้างรั้ว ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง หลีกเลี่ยงสารเคมี ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2561 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านกลาง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด