กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตาลีอายร์


“ เสริมสร้างภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพติด ”

ตำบลตาลีอายร์ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
โรงเรียนบ้านตาลีอายร์

ชื่อโครงการ เสริมสร้างภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพติด

ที่อยู่ ตำบลตาลีอายร์ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 สิงหาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"เสริมสร้างภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพติด จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตาลีอายร์ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตาลีอายร์ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
เสริมสร้างภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพติด



บทคัดย่อ

โครงการ " เสริมสร้างภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพติด " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตาลีอายร์ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 สิงหาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 27,300.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตาลีอายร์ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สถานการณ์ปัญหายาเสพติดในปัจจุบันที่ยังคงรุนแรงและมีแนวโน้มแพร่ระบาดในประชากรกลุ่มต่างๆ เด็กและเยาวชนเป็นกลุ่มประชากรที่มีความเสี่ยงและมีโอกาสที่จะตกเป็นเหยื่อและเข้าสู่วงจรปัญหาการเสพและการใช้ยาเสพติดในเด็กและเยาวชน ที่ยังไม่มีมาตรฐานระบบการป้องกันและควบคุมที่ดีพอ นามาสู่ความเดือดร้อนให้แก่ประชาชนทั่วไป ผลการบาบัดผู้ที่ติดยาเสพติดที่ผ่านมา พบว่า ผู้ที่เข้ารับการบาบัดทุกระบบ รวม ๑๕๐,๙๒๖ คน ผู้ที่เข้ารับการบาบัดส่วนใหญ่ยังคงเป็นกลุ่มเด็กและเยาวชน เมื่อเปรียบเทียบกับประชากรทั่วไปในแต่ละช่วงอายุพบว่า ประชากรในช่วงอายุ ๑๖ – ๒๐ ปี มีอัตราส่วนผู้ที่เกี่ยวข้องและเข้ารับการบาบัดรักษายาเสพติดมากที่สุดคิดเป็น ๓๒.๘ คน ต่อประชากร ๑,๐๐๐ คน รองลงมาคือช่วงอายุ ๒๑ – ๒๕ ปี คิดเป็น ๑๐. ๖ คน ต่อประชากร ๑,๐๐๐ คน และอันดับที่สามคือ ช่วงอายุ ตั้งแต่ ๑๕ ปี ลงไป คิดเป็น ๗.๔ คน ต่อประการ ๑,๐๐๐ คน ฉะนั้นเด็กและเยาวชนจึงเป็นกลุ่มเป้าหมายสาคัญ ที่จาเป็นต้องสร้างเกราะภูมิคุ้มกันให้เข้มแข็งเพื่อป้องกันเด็กให้ห่างไกลจากปัญหายาเสพติด และเป็นภารกิจที่ต้องระดมสรรพกาลังจากทุกหน่วยงาน / องค์กรภาคีที่เกี่ยวข้อง ให้เข้ามามีส่วนร่วมในการดาเนินงาน เพื่อให้ปัญหายาเสพติดในกลุ่มเด็กและเยาวชนได้รับการแก้ไขต่อไป โรงเรียนบ้านตาลีอายร์ ได้ตระหนักถึงปัญหาดังกล่าว และเห็นว่าทุกภาคส่วนของสังคมควรมีบทบาทในการแก้ปัญหาร่วมกัน ไม่ปล่อยให้การแก้ไขปัญหายาเสพติดเป็นหน้าที่ของหน่วยงานใดหน่วยงานหนึ่งเพียงอย่างเดียว ซึ่งจะทาให้ปัญหาการแพร่ระบาดของยาเสพติดรุนแรงขึ้น ด้วยเหตุผลและความจาเป็นดังกล่าว โรงเรียนบ้านตาลีอายร์จึงได้จัดทาโครงการการเสริมสร้างภูมิคุ้มกันและป้องกันภัยยาเสพติด ประจาปี ๒๕๖๑ ขึ้น เพื่อเป็นการสนองตอบและมีส่วนร่วมสนับสนุนต่อนโยบายของรัฐในการนาสังคมไทยไปสู่สังคมที่พึงปรารถนา คือ สังคมอยู่เย็นเป็นสุขร่วมกัน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๒.๑ เพื่อปลูกจิตสานึกของเด็กและเยาวชน ให้มีความรู้ความเข้าใจ และตระหนักถึงพิษภัยยาเสพติดที่มีผลต่อร่างกาย สุขภาพอนามัย และส่งผลกระทบต่อปัญหาของสังคม ตลอดความมั่นคงของชาติ ๒.๒ เพื่อควบคุมการขยายตัวของปัญหายาเสพติด และลดการแพร่ระบาดของยาเสพติดในสถานศึกษา ๒.๓ เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันแก่เด็กและเยาวชน ให้ห่างไกลยาเสพติดในสถานศึกษา ๒.๔ เพื่อส่งเสริมการเล่นกีฬา ออกกาลังกายต้านภัยยาเสพติด

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมฝึกอบรมให้ความรู้
  2. กิจกรรมแข่งขันกีฬาต้านยาเสพติด

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๘.๑ นักเรียนได้รับความรู้ถึงพิษภัยและโทษของยาเสพติด ตลอดจน ๘.๒ ลดการแพร่ระบาดของยาเสพติดในกลุ่มเด็กและเยาวชนในสถานศึกษา ๘.๓ นักเรียนเกิดทักษะความคิด สามารถสร้างภูมิคุ้มกันด้านร่างกายและจิตใจไม่ตกเป็นทาสของยา เสพติด ๘.๔ เด็กมีภูมิคุ้มกันที่ดีในการด้านภัยยาเสพติดและใช้เวลาว่างในการเล่นกีฬาไม่ยุ่งเกี่ยวยาเสพติด ๘.๕ เด็กนาความรู้ที่ได้รับไปถ่ายทอดความรู้ขยายผลไปยังผู้ใกล้ชิดในครอบครัว เพื่อนบ้าน และชุมชนใกล้เคียง ๘.๖ โรงเรียนและชุมชนได้สนองนโยบายของรัฐบาลและร่วมแก้ปัญหายาเสพติดร่วมกันอย่างเป็นรูปธรรม


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมฝึกอบรมให้ความรู้

วันที่ 11 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

๔.๑ ประชุมคณะครูเพื่อนำสู่การดำเนินโครงการ ๔.๒ จัดทำโครงการและเสนอเพื่อขอสนับสนุนงบประมาณ ๔.๓ ติดต่อประสานความร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
๔.๔ ประชาสัมพันธ์โครงการพร้อมกับประสานกับชุมชน ๔.๕ ดำเนินการตามโครงการ ๔.๖ สรุปและรายงานผลการดำเนินโครงการต่อหน่วยงานเจ้าของงบประมาณ รูปแบบกิจกรรม ๑ การบรรยายให้ความรู้เสริมสร้างทักษะชีวิตแก่เด็กในสถานศึกษาให้มีความรู้ความเข้าใจและ ตระหนักถึงพิษภัยและโทษของยาเสพติดที่มีผลต่อ ร่างกาย สุขภาพอนามัย และส่งผลกระทบต่อปัญหาของสังคม ตลอดความมั่นคงของชาติ โดยให้สอดแทรกเรื่องศาสนาเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของหลักสูตร ๒ กิจกรรมฝึกทักษะทางความคิด เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันทางด้านร่างกายและจิตใจให้ห่างไกลยาเสติด ๓ จัดกิจกรรมการแข่งขันกีฬาต้านภัยยาเสพติด   ๔ ทำกิจกรรมต่างๆร่วมกัน เน้นความสามัคคี การเสียสละ และการมีส่วนร่วม   ๕  เป็นการขัดเกลาจิตใจ โน้มน้าวจิตใจเด็กให้เกิดความรักประเทศชาติ รักชุมชน รักสังคม และรักตนเอง เพื่อให้เป็นพลเมืองที่ดีของประเทศชาติ   ๕ กิจกรรมที่มุ่งเน้นให้เด็กนักเรียนเรียนรู้การทำงานเป็นทีม การเข้าสังคม การแสดงความคิดเห็น ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น กล้าคิด กล้าทำ กล้าแสดงออกในสิ่งที่ถูกต้อง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

๘.๑ นักเรียนได้รับความรู้ถึงพิษภัยและโทษของยาเสพติด ตลอดจน ๘.๒ ลดการแพร่ระบาดของยาเสพติดในกลุ่มเด็กและเยาวชนในสถานศึกษา ๘.๓ นักเรียนเกิดทักษะความคิด สามารถสร้างภูมิคุ้มกันด้านร่างกายและจิตใจไม่ตกเป็นทาสของยา เสพติด ๘.๔ เด็กมีภูมิคุ้มกันที่ดีในการด้านภัยยาเสพติดและใช้เวลาว่างในการเล่นกีฬาไม่ยุ่งเกี่ยวยาเสพติด ๘.๕ เด็กนาความรู้ที่ได้รับไปถ่ายทอดความรู้ขยายผลไปยังผู้ใกล้ชิดในครอบครัว เพื่อนบ้าน และชุมชนใกล้เคียง ๘.๖ โรงเรียนและชุมชนได้สนองนโยบายของรัฐบาลและร่วมแก้ปัญหายาเสพติดร่วมกันอย่างเป็นรูปธรรม

 

100 0

2. กิจกรรมแข่งขันกีฬาต้านยาเสพติด

วันที่ 11 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

๔.๑  ประชุมคณะครูเพื่อนำสู่การดำเนินโครงการ ๔.๒  จัดทำโครงการและเสนอเพื่อขอสนับสนุนงบประมาณ ๔.๓  ติดต่อประสานความร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
๔.๔  ประชาสัมพันธ์โครงการพร้อมกับประสานกับชุมชน ๔.๕  ดำเนินการตามโครงการ ๔.๖  สรุปและรายงานผลการดำเนินโครงการต่อหน่วยงานเจ้าของงบประมาณ รูปแบบกิจกรรม ๑  การบรรยายให้ความรู้เสริมสร้างทักษะชีวิตแก่เด็กในสถานศึกษาให้มีความรู้ความเข้าใจและ ตระหนักถึงพิษภัยและโทษของยาเสพติดที่มีผลต่อ ร่างกาย  สุขภาพอนามัย  และส่งผลกระทบต่อปัญหาของสังคม  ตลอดความมั่นคงของชาติ  โดยให้สอดแทรกเรื่องศาสนาเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของหลักสูตร ๒  กิจกรรมฝึกทักษะทางความคิด เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันทางด้านร่างกายและจิตใจให้ห่างไกลยาเสติด ๓  จัดกิจกรรมการแข่งขันกีฬาต้านภัยยาเสพติด   ๔  ทำกิจกรรมต่างๆร่วมกัน เน้นความสามัคคี  การเสียสละ และการมีส่วนร่วม   ๕  เป็นการขัดเกลาจิตใจ โน้มน้าวจิตใจเด็กให้เกิดความรักประเทศชาติ รักชุมชน รักสังคม และรักตนเอง เพื่อให้เป็นพลเมืองที่ดีของประเทศชาติ   ๕  กิจกรรมที่มุ่งเน้นให้เด็กนักเรียนเรียนรู้การทำงานเป็นทีม  การเข้าสังคม การแสดงความคิดเห็น  ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น กล้าคิด  กล้าทำ  กล้าแสดงออกในสิ่งที่ถูกต้อง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

๔.๑  ประชุมคณะครูเพื่อนำสู่การดำเนินโครงการ ๔.๒  จัดทำโครงการและเสนอเพื่อขอสนับสนุนงบประมาณ ๔.๓  ติดต่อประสานความร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
๔.๔  ประชาสัมพันธ์โครงการพร้อมกับประสานกับชุมชน ๔.๕  ดำเนินการตามโครงการ ๔.๖  สรุปและรายงานผลการดำเนินโครงการต่อหน่วยงานเจ้าของงบประมาณ รูปแบบกิจกรรม ๑  การบรรยายให้ความรู้เสริมสร้างทักษะชีวิตแก่เด็กในสถานศึกษาให้มีความรู้ความเข้าใจและ ตระหนักถึงพิษภัยและโทษของยาเสพติดที่มีผลต่อ ร่างกาย  สุขภาพอนามัย  และส่งผลกระทบต่อปัญหาของสังคม  ตลอดความมั่นคงของชาติ  โดยให้สอดแทรกเรื่องศาสนาเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของหลักสูตร ๒  กิจกรรมฝึกทักษะทางความคิด เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันทางด้านร่างกายและจิตใจให้ห่างไกลยาเสติด ๓  จัดกิจกรรมการแข่งขันกีฬาต้านภัยยาเสพติด   ๔  ทำกิจกรรมต่างๆร่วมกัน เน้นความสามัคคี  การเสียสละ และการมีส่วนร่วม   ๕  เป็นการขัดเกลาจิตใจ โน้มน้าวจิตใจเด็กให้เกิดความรักประเทศชาติ รักชุมชน รักสังคม และรักตนเอง เพื่อให้เป็นพลเมืองที่ดีของประเทศชาติ   ๕  กิจกรรมที่มุ่งเน้นให้เด็กนักเรียนเรียนรู้การทำงานเป็นทีม  การเข้าสังคม การแสดงความคิดเห็น  ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น กล้าคิด  กล้าทำ  กล้าแสดงออกในสิ่งที่ถูกต้อง

 

100 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ๒.๑ เพื่อปลูกจิตสานึกของเด็กและเยาวชน ให้มีความรู้ความเข้าใจ และตระหนักถึงพิษภัยยาเสพติดที่มีผลต่อร่างกาย สุขภาพอนามัย และส่งผลกระทบต่อปัญหาของสังคม ตลอดความมั่นคงของชาติ ๒.๒ เพื่อควบคุมการขยายตัวของปัญหายาเสพติด และลดการแพร่ระบาดของยาเสพติดในสถานศึกษา ๒.๓ เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันแก่เด็กและเยาวชน ให้ห่างไกลยาเสพติดในสถานศึกษา ๒.๔ เพื่อส่งเสริมการเล่นกีฬา ออกกาลังกายต้านภัยยาเสพติด
ตัวชี้วัด : ๘.๑ นักเรียนได้รับความรู้ถึงพิษภัยและโทษของยาเสพติด ตลอดจน ๘.๒ ลดการแพร่ระบาดของยาเสพติดในกลุ่มเด็กและเยาวชนในสถานศึกษา ๘.๓ นักเรียนเกิดทักษะความคิด สามารถสร้างภูมิคุ้มกันด้านร่างกายและจิตใจไม่ตกเป็นทาสของยา เสพติด ๘.๔ เด็กมีภูมิคุ้มกันที่ดีในการด้านภัยยาเสพติดและใช้เวลาว่างในการเล่นกีฬาไม่ยุ่งเกี่ยวยาเสพติด ๘.๕ เด็กนาความรู้ที่ได้รับไปถ่ายทอดความรู้ขยายผลไปยังผู้ใกล้ชิดในครอบครัว เพื่อนบ้าน และชุมชนใกล้เคียง ๘.๖ โรงเรียนและชุมชนได้สนองนโยบายของรัฐบาลและร่วมแก้ปัญหายาเสพติดร่วมกันอย่างเป็นรูปธรรม
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๒.๑ เพื่อปลูกจิตสานึกของเด็กและเยาวชน ให้มีความรู้ความเข้าใจ และตระหนักถึงพิษภัยยาเสพติดที่มีผลต่อร่างกาย สุขภาพอนามัย และส่งผลกระทบต่อปัญหาของสังคม ตลอดความมั่นคงของชาติ ๒.๒ เพื่อควบคุมการขยายตัวของปัญหายาเสพติด และลดการแพร่ระบาดของยาเสพติดในสถานศึกษา ๒.๓ เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันแก่เด็กและเยาวชน ให้ห่างไกลยาเสพติดในสถานศึกษา ๒.๔ เพื่อส่งเสริมการเล่นกีฬา ออกกาลังกายต้านภัยยาเสพติด

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมฝึกอบรมให้ความรู้ (2) กิจกรรมแข่งขันกีฬาต้านยาเสพติด

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


เสริมสร้างภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพติด จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( โรงเรียนบ้านตาลีอายร์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด