กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลนาหว้า


“ โครงการดูแลสุขภาพที่บ้าน สร้างเครือข่ายชุมชน ดูแลผู้ป่วยติดเตียง ”

ตำบลนาหว้า อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางเยาวรัส ชฎารัตน์

ชื่อโครงการ โครงการดูแลสุขภาพที่บ้าน สร้างเครือข่ายชุมชน ดูแลผู้ป่วยติดเตียง

ที่อยู่ ตำบลนาหว้า อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-L5182-01-07 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 16 สิงหาคม 2561 ถึง 28 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการดูแลสุขภาพที่บ้าน สร้างเครือข่ายชุมชน ดูแลผู้ป่วยติดเตียง จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาหว้า อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลนาหว้า ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการดูแลสุขภาพที่บ้าน สร้างเครือข่ายชุมชน ดูแลผู้ป่วยติดเตียง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการดูแลสุขภาพที่บ้าน สร้างเครือข่ายชุมชน ดูแลผู้ป่วยติดเตียง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาหว้า อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61-L5182-01-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 16 สิงหาคม 2561 - 28 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 24,800.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลนาหว้า เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันประเทศไทยกำลังมีการเปลี่ยนแปลงทางการสาธารณสุข ปัญหาสุขภาพส่วนใหญ่พบว่า ผู้ป่วยติดเตียงเพิ่มขึ้นจากโรคเรื้อรัง ภาวะแทรกซ้อนของหลอดเลือด อุบัติเหตุและการเจ็บป่วยระยะท้ายของชีวรัฐบาลมีนโยบายทีมหมอครอบครัวในการดูแลสุขภาพที่บ้าน โดยเน้นการมีส่วนร่วมของชุมชนให้เกิดการดูและซึ่งกันและกัน     จากข้อมูลปีงบประมาณ 2559 ในเขตพื้นที่ 7 จังหวัดภาคใต้ตอนล่าง พบมีผู้ป่วยที่ขอรับบริการฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์จากการนอนติดเตียง ทั้งหมด79,970 คน ขอรับอุปกรณ์เครื่องช่วยสำหรับคนพิการจำนวน 1,376 คน ซึ่งมีความต้องการอุปกรณ์ต่างๆ เพื่อช่วยฟื้นฟูสภาพร่างกายเพิ่มจำนวนมากขึ้น ข้อมูลจากการลงเยี่ยมบ้านขอ รพ.สต.นาหว้า ปี 2560 พบว่ามีผู้ป่วยติดเตียงทั้งสิ้น จำนวน 14 ราย จำแนกเป็นกลุ่มผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและได้รับการดูแลโดยระบบการดูแลระยะยาวแล้ว จำนวน 7 ราย กลุ่มวัยทำงานมีภาวะเทรกซ้อนจากโรคเรื้อรังและติดเตียง จำนวน 1 ราย กลุ่มวัยทำงาน ติดเตียงจากอุบัติเหตุ 2 ราย ซึ่งพบปัญหาสุภาพ การเข้าถึงบริการ การฟื้นฟูสภาพ การขาดกำลังใจ ผู้ดูและมีความเครียดเกิดปัญหาในครอบครัวตามมา ทั้งยังส่งผลกระทบต่อภาวะเศรษฐกิจในครอบครัว รายจ่ายเพิ่มมากขึ้น การดูแลสุขภาพที่บ้านยังเป็นบทบาทหลักของทีมสุขภาพ ขาดการมีส่วนร่วมในการดูแลของชุมชน     ดังนั้น ทางชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลนาหว้า เล็งเห็นความสำคัญจึงได้ทำโครงการดูแลสุขภาพที่บ้าน สร้างเครือข่ายชุมชนดูแลผู้ป่วยติดเตียง ปี 2561 เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่ care giver, จิตอาสา, ผู้นำชุมชน, อสม. ได้มีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วยติดเตียง สามารถที่จะนำความรู้ที่ได้ไปดูแลญาติ คนใกล้ชิด หรือแนะนำผู้อื่นให้ดูแลผู้ป่วยติดเตียงได้อย่างถูกต้อง เกิดเครือข่ายการดูแลผู้ป่วยติดเตียงเพิ่มมากขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้ดูแลที่บ้าน จิตอาสา มีความรู้และทักษะในการดูแลผู้ป่วยติดเตียงอย่างถูกต้อง
  2. เพื่อให้เกิดเครือข่ายการดูแลสุขภาพที่บ้าน โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน
  3. เพื่อค้นหาผู้ป่วยรายใหม่โดยการเยี่ยมบ้านบูรณาการ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ดูแลสุขภาพที่บ้าน สร้างเครือข่ายชุมชน ดูแลผู้ป่วยติดเตียง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 40
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้ดูแลที่บ้าน จิตอาสา มีความรู้และทักษะในการดูแลผู้ป่วยติดเตียงอย่างถูกต้อง 2.เกิดเครือข่ายการดูแลสุขภาพที่บ้าน โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน 3.พบผู้ป่วยรายใหม่โดยการเยี่ยมบ้านบูรณาการ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ดูแลสุขภาพที่บ้าน สร้างเครือข่ายชุมชน ดูแลผู้ป่วยติดเตียง

วันที่ 20 มกราคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

1.เขียนโครงการเพื่อขออนุมัติ 2.ประชุมเตรียมความพร้อมการดำเนินตามโครงการโดยเรียกเจ้าหน้าที่มาชี้แจงเพื่อให้เจ้าหน้าที่ทราบถึงเป้าหมายไปในทางเดียวกัน 3.ประชุมชี้แจง/แนวทางการดำเนินงานและสรุปผลแก่ อสม./จนท./ผู้นำชุมชน/ผู้ที่เกี่ยวข้อง 4.จัดเตรียมทีมดูแลด้านสังคมในรูปแบบเครือข่าย ได้แก่ ผู้นำชุมชน อสม. จิตอาสา Care giver เจ้าหน้าที่ประจำพื้นที่ กำหนดบทบาทหน้าที่ของทีม กำหนดเป้าหมายการเยี่ยมบ้าน 5.ติดต่อประสานงานกับผู้ที่เกี่ยวข้องเพื่อความพร้อม 6.เตรียมเครื่องมือในการดำเนินงาน 7.ดำเนินการอบรม
8.รายงานผลการดำเนินงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ผู้ดูแลที่บ้าน จิตอาสา มีความรู้และทักษะในการดูแลผู้ป่าวยติดเตียงอย่างถูกต้อง 2.เกิดเครือข่ายการดูแลสุขภาพที่บ้าน โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน 3.พบผู้ป่วยรายใหม่โดยการเยี่ยมบ้านบูรณาการ

 

40 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้ดูแลที่บ้าน จิตอาสา มีความรู้และทักษะในการดูแลผู้ป่วยติดเตียงอย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้และทักษะในการดูแลผู้ป่วยติดเตียงอย่างถูกวิธี
80.00

 

2 เพื่อให้เกิดเครือข่ายการดูแลสุขภาพที่บ้าน โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 50 ของผู้เข้าร่วมโครงการมีทักษะในการดูแลสุขภาพที่บ้านเพิ่มมากขึ้น
50.00

 

3 เพื่อค้นหาผู้ป่วยรายใหม่โดยการเยี่ยมบ้านบูรณาการ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 50 ค้นพบผู้ป่วยรายใหม่เพิ่ม
50.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 40
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ดูแลที่บ้าน จิตอาสา มีความรู้และทักษะในการดูแลผู้ป่วยติดเตียงอย่างถูกต้อง (2) เพื่อให้เกิดเครือข่ายการดูแลสุขภาพที่บ้าน โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน (3) เพื่อค้นหาผู้ป่วยรายใหม่โดยการเยี่ยมบ้านบูรณาการ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ดูแลสุขภาพที่บ้าน สร้างเครือข่ายชุมชน ดูแลผู้ป่วยติดเตียง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการดูแลสุขภาพที่บ้าน สร้างเครือข่ายชุมชน ดูแลผู้ป่วยติดเตียง จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-L5182-01-07

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางเยาวรัส ชฎารัตน์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด