กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลควนเสาธง


“ โครงการจัดทำแผนงานกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลควนเสาธง ”

อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางอัญชลี เพียสุระ

ชื่อโครงการ โครงการจัดทำแผนงานกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลควนเสาธง

ที่อยู่ อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 61/L3329/15/40 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 31 สิงหาคม 2561 ถึง 31 สิงหาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการจัดทำแผนงานกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลควนเสาธง จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลควนเสาธง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการจัดทำแผนงานกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลควนเสาธง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการจัดทำแผนงานกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลควนเสาธง " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 61/L3329/15/40 ระยะเวลาการดำเนินงาน 31 สิงหาคม 2561 - 31 สิงหาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 11,975.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลควนเสาธง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

แผนสุขภาพชุมชน หมายถึง แผนงานด้านสุขภาพของประชาชน โดยประชาชน เพื่อประชาชน เป็นกระบวนการที่ชุมชนมีส่วนร่วมคิด ร่วมค้นหา ร่วมเรียนรู้ ร่วมกำหนดทิศทาง ร่วมกำหนดทิศทาง ร่วมจัดกิจกรรมการพัฒนาและร่วมรับประโยชน์ โดยเริ่มจากการคัดเลือกแกนนำ การทบทวนงานในอดีตเพื่อกำหนดอนาคตการสำรวจข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล สภาพปัญหา และการประเมินศักยภาพของชุมชน เพื่อใช้เป็นเครื่องมือให้เกิดการทบทวนตนเอง โดยคำนึงถึงศักยภาพ ทรัพยากร ภูมิปัญญา วิถีชีวิต วัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อมในชุมชนรวมทั้งแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นตามศักยภาพของชุมชน กระตุ้นประชาชนให้เกิดความกระตือรือร้นในการพัฒนาชุมชนของตนเอง ตลอดจนให้ความร่วมมือกับกิจกรรมด้านสุขภาพ และร่วมติดตามประเมินผล โดยสามารถขอรับการสนับสนุนจากหน่วยงานภายนอกได้
เนื่องจากปัญหาด้านสุขภาพส่วนใหญ่เป็นปัญหาด้านพฤติกรรมของบุคคลที่มีสาเหตุมาจากปัจจัยหลายด้านที่ผสมผสานกัน อันได้แก่ ปัจจัยส่วนบุคคลที่มาจากพันธุกรรม เจตคติ ความรู้ และความเข้าใจ ปัจจัยด้านครอบครัว ชุมชน สังคม วัฒนธรรมและวิถีชีวิต ซึ่งการแก้ไขจะต้องใช้กลวิธีและใช้ระยะเวลาในการดำเนินงานที่ต่อเนื่อง โดยอาศัยความร่วมมือของทุกภาคส่วนและบุคคลที่เป็นเจ้าของสุขภาพ ดังนั้น เพื่อให้การบริหารจัดการกองทุนบรรลุวัตถุประสงค์ จะต้องมีระบบการจัดทำข้อมูล มีการจัดทำแผนงานที่ใช้เป็นแนวทางการแก้ไขปัญหาและกำหนดทิศทางการดำเนินงานในการสนับสนุนงบประมาณให้แก่หน่วยบริการ ประชาชน และภาคีที่เกี่ยวข้อง การจัดทำแผนงานดังกล่าว อาจใช้เครื่องมือ เช่น แผนสุขภาพชุมชน แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ เป็นต้น โดยระยะแรกอาจเลือกใช้แผนสุขภาพชุมชน และในระยะต่อไปมีการพัฒนาขึ้น โดยนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์มาใช้เป็นเครื่องมือในการบริหารจัดการกองทุน เพื่อพัฒนาให้เกิดสุขภาวะของประชาชนในพื้นที่รับผิดชอบต่อไป จากความสำคัญของการจัดทำแผนสุขภาพชุมชน สำนักปลัดเทศบาลตำบลควนเสาธง จึงได้จัดทำโครงการจัดทำแผนสุขภาพชุมชนเพื่อนำมาเป็นเครื่องมือในการขับเคลื่อนกิจกรรมด้านการพัฒนาสุขภาพของประชาชนให้มีสุขภาวะที่ดีอย่างยั่งยืน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการจัดทำแผนสุขภาพชุมชน 2. เพื่อนำมาใช้เป็นเครื่องมือในการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลควนเสาธง 3. เพื่อกำหนดแนวทางการพัฒนาสุขภาวะของประชาชนในพื้นที่ 4. เพื่อนำมาใช้เป็นแนวทางในการแก้ไขปัญหาและกำหนดทิศทางการดำเนินงานในการสนับสนุนงบประมาณให้แก่หน่วยบริการสุขภาพประชาชน และภาคีที่เกี่ยวข้อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 55

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ทำให้ประชาชนจากทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการจัดทำแผนสุขภาพชุมชน

      1. ทำให้กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลควนเสาธง มีแผนสุขภาพชุมชนเพื่อนำมาใช้เป็นเครื่องมือในการบริหารจัดการกองทุนฯ
      2. ทำให้มีแนวทางการพัฒนาสุขภาพของประชาชนในพื้นที่

      3. ทำให้มีแนวทางในการแก้ไขปัญหา และกำหนดทิศทางการดำเนินงานในการสนับสนุนงบประมาณให้แก่หน่วยบริการสุขภาพประชาชน และภาคีที่เกี่ยวข้อง

      4. ทำให้ประชาชนได้รับสิทธิประโยชน์ขั้นพื้นฐานในการเข้าถึงการบริการสุขภาพอย่างเสมอภาค

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    ผลการดำเนินงาน ตามโครงการจัดทำแผนงานกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลควนเสาธง ได้ดำเนินการจัดทำแผนงานกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลควนเสาธง ได้รับเกียรติจากพี่เลี้ยงกองทุนฯมาบรรยายการจัดทำแผนงานสุขภาพในพื้นที่ โดยมีกลุ่มเป้าหมายดังนี้ บุคลากรทางสาธารณสุข กลุ่มแกนนำหมู่บ้าน กลุ่มประชาชนทั่วไป กลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน กลุ่มครูจากสถานศึกษา ผู้นำศาสนา จำนวน 55 คน และทีมพี่เลี้ยงกองทุนฯโดยนายพิลือ เขียวแก้ว ตำแหน่งนักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ จากสำนักงานสาธารณสุขอำเภอบางแก้ว และนางวาลัยพร ด้วงคง ตำแหน่งนักบริหารงานการคลัง ระดับต้น(หัวหน้าฝ่ายบริหารงานคลัง) จากสำนักงานเทศบาลตำบลโคกม่วง มาบรรยายการสร้างและพัฒนาทีมเครือข่ายสุขภาพตำบล โดยกำหนดเป้าหมายของการพัฒนาร่วมกัน และบทบาทของแต่ละภาคส่วนที่ชัดเจน มีการพัฒนาศักยภาพทีมสุขภาพตำบล ในเรื่องการจัดทำแผนสุขภาพตำบล โดยใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ หรือกระบวนการจัดทำแผนอย่างมีส่วนร่วม และใช้เกณฑ์หมู่บ้านจัดการสุขภาพประกอบการพัฒนา มีการจัดทำแผนสุขภาพตำบล โดยเปิดโอกาสให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเข้าร่วมในการวิเคราะห์ปัญหาสุขภาพของชุมชน และร่วมจัดทำแผนสุขภาพตำบล โครงการและกิจกรรม ผู้รับผิดชอบ เพื่อการแก้ปัญหาด้วยกระบวนของชุมชน การส่งเสริมการมีส่วนร่วมเพื่อสร้างหลักประกันสุขภาพที่ดีต่อไป

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการจัดทำแผนสุขภาพชุมชน 2. เพื่อนำมาใช้เป็นเครื่องมือในการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลควนเสาธง 3. เพื่อกำหนดแนวทางการพัฒนาสุขภาวะของประชาชนในพื้นที่ 4. เพื่อนำมาใช้เป็นแนวทางในการแก้ไขปัญหาและกำหนดทิศทางการดำเนินงานในการสนับสนุนงบประมาณให้แก่หน่วยบริการสุขภาพประชาชน และภาคีที่เกี่ยวข้อง
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 55
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 55

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการจัดทำแผนสุขภาพชุมชน 2. เพื่อนำมาใช้เป็นเครื่องมือในการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลควนเสาธง 3. เพื่อกำหนดแนวทางการพัฒนาสุขภาวะของประชาชนในพื้นที่ 4. เพื่อนำมาใช้เป็นแนวทางในการแก้ไขปัญหาและกำหนดทิศทางการดำเนินงานในการสนับสนุนงบประมาณให้แก่หน่วยบริการสุขภาพประชาชน และภาคีที่เกี่ยวข้อง

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการจัดทำแผนงานกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลควนเสาธง จังหวัด พัทลุง

    รหัสโครงการ 61/L3329/15/40

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางอัญชลี เพียสุระ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด