กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปัตตานี


“ โครงการขับขี่ปลอดภัย รู้วินัยการจราจร ประจำปี 2561 ”

อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
สุรพล ทองประดับ

ชื่อโครงการ โครงการขับขี่ปลอดภัย รู้วินัยการจราจร ประจำปี 2561

ที่อยู่ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 20 สิงหาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการขับขี่ปลอดภัย รู้วินัยการจราจร ประจำปี 2561 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปัตตานี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการขับขี่ปลอดภัย รู้วินัยการจราจร ประจำปี 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการขับขี่ปลอดภัย รู้วินัยการจราจร ประจำปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 20 สิงหาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 41,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปัตตานี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันปัญหาจากอุบัติเหตุจราจรเป็นปัญหาใหญ่ระดับประเทศ ทำให้เกิดความสูญเสียต่อชีวิต ร่างกายพิการ ทุพพลภาพ ตลอดจนทรัพย์สิน จากรายงานสถานการณ์อุบัติเหตุในประเทศไทยในแต่ละปี ผู้บาดเจ็บและเสียชีวิตจากอุบัติเหตุจราจรมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา (พ.ศ.2555-2559) พบว่าอัตราการเสียชีวิตเฉลี่ย 14,771 คนต่อปี ปี 2559 กลุ่มประชากรที่มีความเสี่ยงต่อการสูญเสียชีวิต คือ ประชากรช่วง  อายุ 15-19 ปี รองลงมา คือ 20-24 ปี โดยผู้ชายมีความเสี่ยงมากกว่าผู้หญิง 3 เท่าในทุกๆช่วงอายุ จักรยานยนต์เป็นประเภท  ของยานพาหนะที่ทำให้มีการสูญเสียชีวิตมากที่สุด รองลงมา คือ รถเก๋ง และผู้ที่ใช้ทางเท้าตามลำดับ(กระทรวงสาธารณสุข, 2560)

ในจังหวัดปัตตานีเป็นจังหวัดหนึ่งที่เฝ้าระวังและให้ความสำคัญต่อการลดอัตราการเกิดอุบัติเหตุ    ทางจราจร โดยสถิติการเกิดอุบัติเหตุในพื้นที่อำเภอเมืองปัตตานีระหว่างปี 2556-2560 จำนวนครั้งการเกิดอุบัติเหตุแนวโน้มเพิ่มขึ้นทุกๆ ปี ปี 2559 มีจำนวนครั้งการเกิดอุบัติเหตุมากที่สุด คือ 461 ครั้งต่อปี รองลงมา คือ ปี 2560 จำนวน 342 ครั้งต่อปี และทำให้มีผู้ได้รับบาดเจ็บสูงที่สุดในปี 2559 รองลงมาคือ ปี 2560 จำนวน 507 ราย และ 358 ราย ตามลำดับ แต่อัตราการเสียชีวิตเพิ่มขึ้นสูงที่สุดในปี 2559 และ 2560 จำนวน 6 ราย เท่ากัน (ตารางที่ 1) จักรยานยนต์เป็นยานพาหนะที่ทำให้เกิดการสูญเสียมากที่สุดเช่นกัน (ตารางที่ 2) และช่วงเวลาการเกิดอุบัติเหตุมากที่สุดคือ 15.00-18.00 น. (สำนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดปัตตานี 2560)     สมาชิกทุกคนในสังคมย่อมมีความสำคัญ โดยเฉพาะเด็กและเยาวชนเป็นกำลังสำคัญในการพัฒนาประเทศและชุมชนของตนเอง แต่จากรายงานประชากรช่วงอายุ 15-19 ปี มีความเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ    ทางจราจรมากที่สุด ถึงแม้จะมีกฎหมายจราจรและเจ้าหน้าที่ดูแลความปลอดภัยในเบื้องต้น แต่ไม่สามารถดูแลให้ทั่วถึงได้ เช่นเดียวกันกับในเขตเทศบาลเมืองปัตตานี แนวโน้มการเกิดอุบัติเหตุเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะในช่วงเวลา 15.00-18.00 น. ซึ่งเป็นเวลาเดินทางกลับบ้านของนักเรียน การจราจรหนาแน่น โอกาสการเกิดอุบัติเหตุ จึงมีสูงมาก  ดังนั้นความเข้าใจในกฎจราจรจึงมีความสำคัญ เพื่อจะได้ปฏิบัติตัวถูกต้องตามกฎระเบียบวินัย เพื่อเสริมสร้างการขับขี่ด้วยความมีน้ำใจ ลดการเกิดอุบัติเหตุที่จะเกิดกับเด็กและเยาวชนได้

หลายๆ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องของจังหวัดปัตตานี เล็งเห็นความสำคัญถึงการให้ความรู้เรื่องกฎจราจร  กับเยาวชนในพื้นที่ เป้าหมายหลักคือนักเรียนช่วงมัธยมศึกษา แต่การให้ความรู้เพื่อความปลอดภัยด้านการจราจรนั้น ย่อมมีความสำคัญในทุกๆ กลุ่มประชากร โดยเฉพาะนักเรียนระดับประถมศึกษา เพื่อเด็กๆ เหล่านี้ได้ทราบกฎจราจรในเบื้องต้น สามารถดูแลตนเองให้มีความปลอดภัยตลอดเส้นทางการเดินทางระหว่างที่พักถึงโรงเรียน รวมถึงช่วงเวลาอื่นๆ ดังนั้นจึงได้จัดโครงการขับขี่ปลอดภัย รู้วินัยการจราจร ประจำปี 2561 ขึ้น เป้าหมายในการอบรมครั้งนี้ คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5- มัธยมศึกษาปีที่ 6 ในสังกัดเทศบาลเมืองปัตตานี ให้มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับกฎจราจรตามระเบียบกฎหมาย และการใช้รถใช้ถนนที่ถูกต้อง สามารถขยายผลไปยังเพื่อนนักเรียน ตลอดจนถึงผู้ปกครองในชุมชน ให้มีวินัยจราจรและสามารถขับขี่อย่างปลอดภัยแบบยั่งยืนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 600
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1 นักเรียนในสังกัดเทศบาลเมืองปัตตานีทั้ง 5 โรงเรียน มีความรู้เกี่ยวกับกฎจราจรและการใช้รถ  ใช้ถนนที่ถูกต้องตามพระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ.2522 และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับปัจจุบัน เพิ่มขึ้นร้อยละ 80 8.2 นักเรียนตระหนักเรื่องความปลอดภัยจากการขับขี่รถจักรยาน โดยมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม  การขับขี่รถจักรยาน ระหว่างการเดินทางไป – กลับโดยไม่มีการขับขี่จักรยานโลดโผน หรือไม่ปลอดภัย 8.3 นักเรียนผู้เข้าร่วมโครงการนำความรู้ที่ได้รับไปขยายผลไปยังเพื่อนนักเรียน ตลอดจนถึงผู้ปกครอง ในชุมชนสามารถไปปฏิบัติขณะใช้รถใช้ถนนได้อย่างปลอดภัย


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 600
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 600
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการขับขี่ปลอดภัย รู้วินัยการจราจร ประจำปี 2561 จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( สุรพล ทองประดับ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด