กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นิคมพัฒนา


“ โครงการเพื่อนช่วยเพื่อน ชมรมผู้สูงอายุ สอน.นิคมพัฒนา ปี 2561 ”

อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
ชมรมผู้สูงอายุ สถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติ ๖๐ พรรษา นวมินทราชินี นิคมพัฒนา

ชื่อโครงการ โครงการเพื่อนช่วยเพื่อน ชมรมผู้สูงอายุ สอน.นิคมพัฒนา ปี 2561

ที่อยู่ อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 61-L5296-2-23 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 กรกฎาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเพื่อนช่วยเพื่อน ชมรมผู้สูงอายุ สอน.นิคมพัฒนา ปี 2561 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นิคมพัฒนา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเพื่อนช่วยเพื่อน ชมรมผู้สูงอายุ สอน.นิคมพัฒนา ปี 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเพื่อนช่วยเพื่อน ชมรมผู้สูงอายุ สอน.นิคมพัฒนา ปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 61-L5296-2-23 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 กรกฎาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 50,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นิคมพัฒนา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากข้อมูลในเขต 6 หมู่บ้านของตำบลนิคมพัฒนา อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล มีจำนวนผู้พิการ103คนโดยแยกเป็นผู้พิการในกลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน42คน คิดเป็นร้อยละ 40.78ของผู้พิการทั้งหมด และมีจำนวนผู้สูงอายุ จำนวน 563 คน คิดเป็นร้อยละ 10.81 ของประชากรทั้งหมดในเขตรับผิดชอบของสถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติ ฯ นิคมพัฒนา ณ วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2561 จำนวน 5,207 คน และพบว่าผู้สูงอายุมีปัญหาทางด้านสุขภาพโดยมีโรคประจำตัว ได้แก่ โรคเบาหวาน จำนวน 15 คน คิดเป็นร้อยละ 0.29 โรคความดันโลหิตสูง จำนวน 169คน คิดเป็นร้อยละ 3.24 และโรคความดันโลหิตสูงร่วมกับโรคเบาหวาน จำนวน90 คน คิดเป็นร้อยละ 1.73 ของจำนวนผู้สูงอายุทั้งหมด อีกทั้งในกลุ่มเหล่านี้มีผู้สูงอายุกลุ่มติดบ้าน และติดเตียงจำนวน 35 ราย และกลุ่มผู้พิการที่ช่วยเหลือตนเองได้น้อย และช่วยเหลือตนเองไม่ได้ อีก จำนวน 15 รายซึ่งเป็นภาวะที่ต้องการการดูแลเอาใจใส่มากกว่ากลุ่มปกติ เพื่อให้มีชีวิตที่ยืนยาว ชะลอการเกิดภาวะแทรกซ้อน เพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
ในชุมชนนิคมพัฒนา อำเภอมะนัง มีภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย เพื่อต่อสู้และป้องกันการเจ็บป่วย การบำบัดรักษา การบรรเทาอาการเจ็บป่วย และการบริบาล ที่สืบทอดกันมาจากรุ่นสู่รุ่น และพัฒนาต่อ ๆ มาจนกับระบบที่มีแบบแผนชัดเจน เป็นภูมิปัญญาของสังคม ที่มาจากความเชื่อ ความรู้ ความคิด การลองผิดลองถูก และกลายเป็นการยอมรับในสังคม ซึ่งมักใช้วิธีการหลายวิธี เพื่อให้ผลรักษาทั้งทางร่างกาย และจิตใจ เช่น การใช้ธรรมชาติบำบัด กายภาพบำบัด จิตบำบัด และการใช้ยา ดังนั้นภูมิปัญญาแพทย์แผนไทย จึงเป็นกรรมวิธีที่ไม่มีทางสูญสิ้นไปอย่างแน่นอน มิใช่สิ่งเก่าใช้ไม่ได้ หรือพ้นสมัย แต่ยังเป็นนวัตกรรมทางความคิด และอิงธรรมชาติ วิถีชีวิตของเรา ที่ยังก้าวต่อไปในอนาคต ดังนั้น ชมรมผู้สูงอายุ สอ.เฉลิมพระเกียรติ ฯ นิคมพัฒนา เล็งเห็นถึงจุดแข็งของภูมิปัญญาในการดูแลสุขภาพกลุ่มวัยสูงอายุและผู้พิการในชุมชน จึงได้จัดทำโครงการเพื่อนช่วยเพื่อนขึ้น เพื่อพัฒนาองค์ความรู้ สานต่อภูมิปัญญาและปรับประยุกต์มาใช้ในการดูแล ส่งเสริมสุขภาพกลุ่มดังกล่าวต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อสร้างขวัญและกำลังใจให้แก่ผู้พิการและผู้สูงอายุ 2. เพื่อให้กลุ่มจิตอาสาดูแลผู้พิการและผู้สูงอายุ มีทักษะที่ถูกต้องในการดูแล ติดตามเยี่ยมบ้าน กลุ่มผู้พิการและผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียง 3. เพื่อให้กลุ่มผู้พิการที่ช่วยเหลือตัวเองได้น้อยและกลุ่มที่ช่วยเหลือตัวเองไม่ได้เลย และกลุ่มผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียง ได้รับการติดตามเยี่ยมบ้าน 4.เพื่อส่งเสริมการนำภูมิปัญญาไทย การดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์พื้นบ้านมาบูรณาการกับการดูแลสุขภาพแผนปัจจุบัน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมพัฒนาศักยภาพแก่กลุ่มจิตอาสา กลุ่มผู้ดูแลผู้สูงอายุและผู้พิการ
  2. กิจกรรมติดตามเยี่ยมบ้านดูแลผู้สูงอายุและผู้พิการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 100
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

กลุ่มจิตอาสาดูแลผู้สูงอายุและผู้พิการผ่านการอบรมพัฒนาศักยภาพในการเยี่ยมบ้านดูแล ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและผู้พิการกลุ่มเป้าหมายทุกคนที่อาศัยอยู่จริงในพื้นที่ โดยเฉพาะกลุ่มที่มีปัญหาสุขภาพ
มีโรคประจำตัว ช่วยเหลือตนเองได้น้อย หรือไม่ได้เลย หรือถูกทอดทิ้ง โดยได้รับการดูแลสุขภาพที่บ้าน ได้รับการช่วยเหลือตามความต้องการ ด้วยกระบวนการการดูแลแผนปัจจุบันควบคู่กับการแพทย์แผนไทย
ซึ่งสามารถนำไปสู่กระบวนการดูแลสุขภาพแบบองค์รวมและนำไปสู่รูปแบบการดูแลสุขภาพเฉพาะในชุมชนหรือนวัตกรรมต่อไปได้


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมอบรมพัฒนาศักยภาพแก่กลุ่มจิตอาสา กลุ่มผู้ดูแลผู้สูงอายุและผู้พิการ

วันที่ 28 สิงหาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

จัดกิจกรรมอบรมพัฒนาศักยภาพแก่กลุ่มจิตอาสา กลุ่มผู้ดูแลผู้สูงอายุและผู้พิการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มจิตอาสาดูแลผู้สูงอายุและผู้พิการ ที่ผ่านการอบรมพัฒนาศักยภาพในการเยี่ยมบ้านดูแล ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและผู้พิการกลุ่มเป้าหมายทุกคนที่อาศัยอยู่จริงในพื้นที่  โดยเฉพาะกลุ่มที่มีปัญหาสุขภาพมีโรคประจำตัว  ช่วยเหลือตนเองได้น้อยหรือไม่ได้เลย หรือถูกทอดทิ้ง  โดยได้รับการดูแลสุขภาพที่บ้าน  ได้รับการช่วยเหลือตามความต้องการ  ด้วยกระบวนการการดูแลแผนปัจจุบันควบคู่กับแพทย์แผนไทย  ซึ่งสามารถนำไปสู่กระบวนการดูแลสุขภาพแบบองค์รวมและนำไปสู่รูปแบบการดูแลสุขภาพเฉพาะในชุมชนหรือนวัตกรรมต่อไปได้

 

50 0

2. กิจกรรมติดตามเยี่ยมบ้านดูแลผู้สูงอายุและผู้พิการ

วันที่ 28 สิงหาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

จัดกิจกรรมติดตามเยี่ยมบ้านดูแลผู้สูงอายุและผู้พิกา

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มจิตอาสาดูแลผู้สูงอายุและผู้พิการ ที่ผ่านการอบรมพัฒนาศักยภาพในการเยี่ยมบ้านดูแล ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและผู้พิการกลุ่มเป้าหมายทุกคนที่อาศัยอยู่จริงในพื้นที่  โดยเฉพาะกลุ่มที่มีปัญหาสุขภาพมีโรคประจำตัว  ช่วยเหลือตนเองได้น้อยหรือไม่ได้เลย หรือถูกทอดทิ้ง  โดยได้รับการดูแลสุขภาพที่บ้าน  ได้รับการช่วยเหลือตามความต้องการ  ด้วยกระบวนการการดูแลแผนปัจจุบันควบคู่กับแพทย์แผนไทย  ซึ่งสามารถนำไปสู่กระบวนการดูแลสุขภาพแบบองค์รวมและนำไปสู่รูปแบบการดูแลสุขภาพเฉพาะในชุมชนหรือนวัตกรรมต่อไปได้

 

50 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อสร้างขวัญและกำลังใจให้แก่ผู้พิการและผู้สูงอายุ 2. เพื่อให้กลุ่มจิตอาสาดูแลผู้พิการและผู้สูงอายุ มีทักษะที่ถูกต้องในการดูแล ติดตามเยี่ยมบ้าน กลุ่มผู้พิการและผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียง 3. เพื่อให้กลุ่มผู้พิการที่ช่วยเหลือตัวเองได้น้อยและกลุ่มที่ช่วยเหลือตัวเองไม่ได้เลย และกลุ่มผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียง ได้รับการติดตามเยี่ยมบ้าน 4.เพื่อส่งเสริมการนำภูมิปัญญาไทย การดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์พื้นบ้านมาบูรณาการกับการดูแลสุขภาพแผนปัจจุบัน
ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 85 ของกลุ่มเป้าหมายได้รับขวัญและกำลังใจ โดยวัดจากคะแนนความพึงพอใจในการติดตามเยี่ยมบ้าน อยู่ในระดับดี ขึ้นไป 2.กลุ่มจิตอาสาดุแลผู้พิการและผู้สูงอายุ มีทักษะที่เหมาะสม ถูกต้อง ร้อยละ 90 3.กลุ่มเป้าหมายที่กำหนดไว้ในแผนเยี่ยมบ้าน ได้รับการติดตามเยี่ยมบ้าน ร้อยละ 95 4.สามารถนำภูมิปัญญาพื้นบ้านที่ได้รับการอบรมไปปรับใช้ได้ถูกต้อง ร้อยละ 95
100.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 100
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อสร้างขวัญและกำลังใจให้แก่ผู้พิการและผู้สูงอายุ
2. เพื่อให้กลุ่มจิตอาสาดูแลผู้พิการและผู้สูงอายุ มีทักษะที่ถูกต้องในการดูแล ติดตามเยี่ยมบ้าน กลุ่มผู้พิการและผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียง
3. เพื่อให้กลุ่มผู้พิการที่ช่วยเหลือตัวเองได้น้อยและกลุ่มที่ช่วยเหลือตัวเองไม่ได้เลย และกลุ่มผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียง ได้รับการติดตามเยี่ยมบ้าน
4.เพื่อส่งเสริมการนำภูมิปัญญาไทย การดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์พื้นบ้านมาบูรณาการกับการดูแลสุขภาพแผนปัจจุบัน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมพัฒนาศักยภาพแก่กลุ่มจิตอาสา กลุ่มผู้ดูแลผู้สูงอายุและผู้พิการ (2) กิจกรรมติดตามเยี่ยมบ้านดูแลผู้สูงอายุและผู้พิการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเพื่อนช่วยเพื่อน ชมรมผู้สูงอายุ สอน.นิคมพัฒนา ปี 2561 จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 61-L5296-2-23

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( ชมรมผู้สูงอายุ สถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติ ๖๐ พรรษา นวมินทราชินี นิคมพัฒนา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด