โครงการพัฒนาระบบบริการงานสุขภาพจิตและจิตเวชโดยการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในชุมชนตำบลบาเระเหนือ ปีงบประมาณ 2560
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการพัฒนาระบบบริการงานสุขภาพจิตและจิตเวชโดยการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในชุมชนตำบลบาเระเหนือ ปีงบประมาณ 2560 ”
ตำบลบาเระเหนือ อำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบาเระเหนือ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาเระเหนือ
กันยายน 2560
ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาระบบบริการงานสุขภาพจิตและจิตเวชโดยการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในชุมชนตำบลบาเระเหนือ ปีงบประมาณ 2560
ที่อยู่ ตำบลบาเระเหนือ อำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 60-L2489-11 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการพัฒนาระบบบริการงานสุขภาพจิตและจิตเวชโดยการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในชุมชนตำบลบาเระเหนือ ปีงบประมาณ 2560 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบาเระเหนือ อำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาเระเหนือ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาระบบบริการงานสุขภาพจิตและจิตเวชโดยการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในชุมชนตำบลบาเระเหนือ ปีงบประมาณ 2560
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการพัฒนาระบบบริการงานสุขภาพจิตและจิตเวชโดยการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในชุมชนตำบลบาเระเหนือ ปีงบประมาณ 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบาเระเหนือ อำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 60-L2489-11 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาเระเหนือ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ด้วยภาวะการแข่งขันด้านเศรษฐกิจและสังคม รวมทั้งการเปลี่ยนแปลงด้านการเมืองการปกครองล้วนมีผลต่อภาวะจิตใจของประชาชนผู้ที่ไม่สามารถปรับตัวให้เข้ากับสภาวะดังกล่าวได้จะเกิดความเครียดเพิ่มสูงขึ้น และอาจรุนแรงถึงขั้นมีภาวะเจ็บป่วยทางจิตใจได้การเจ็บป่วยทางจิตเป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญและส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของบุคคล ครอบครัวและชุมชน ถึงแม้ปัญหาสุขภาพจิตจะส่งผลต่ออัตราการตายค่อนข้างต่ำและไม่ทำให้สูญเสียถึงแก่ชีวิต แต่เมื่อเกิดปัญหาสุขภาพจิตขึ้นกับประชาชนทั่วไปอาทิเช่น อาละวาด ทำร้ายผู้คน ฯลฯ จะพบความเสี่ยงต่อชีวิตความทุกข์ทรมาน และมีผลกระทบที่ชัดเจนต่อครอบครัวและชุมชน
โรงพยาบาลสุขภาพตำบลบาเระเหนือมีผู้ป่วยจิตเวชที่เข้ารับการ จำนวน ๒๖ คน ผู้ป่วยซึมเศร้า ๓๘ คน จากการดำเนินงานจิตเวชพบว่าผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษาบางรายได้รับยาไม่ต่อเนื่องสม่ำเสมอบางครั้งจะมีอาการกำเริบและเรื้อรัง สาเหตุหลักคือความยากจน ไม่สามารถหยุดทำงานได้ ทำให้ไม่อาจไปรับยาอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งการทำงานหนักและการกินยาทำให้ตัวแข็ง น้ำลายไหล จึงเป็นเหตุให้ผู้ป่วยไม่ยอมกินยาอีกทั้งญาติผู้ดูแลและชุมชนยังไม่ยอมรับผู้ป่วยจิตเวชทำให้เกิดการทอดทิ้งผู้ป่วยตามลำพังและมักจะกำเริบได้ตลอดเวลาเช่น การตะโกนอาละวาด ทำร้ายข้าวของ และทำร้ายคน โดยผู้ป่วยโรคจิตเภทที่ขาดยา โรคจิตจากการใช้สารเสพติดและเป็นผู้ที่มีพฤติกรรมการใช้สารเสพติด นับว่าเป็นปัญหาที่มีความรุนแรงที่จำเป็นต้องแก้ปัญหาอย่างเร่งด่วนซึ่งน่าจะป้องกันได้หากมีการดูแลที่เหมาะสมตั้งแต่ต้นจากทีมสหวิชาชีพ ซึ่งประกอบด้วย จิตแพทย์ พยาบาลจิตเวช นักจิตวิทยาคลินิกร่วมกับเครือข่ายในชุมชนได้แก่แกนนำอสม. แกนนำชุมชนอบต. ฯลฯ
แต่ในการปฏิบัติงานปัจจุบันนั้นเป็นการให้บริการโดยพยาบาลจิตเวชผู้ป่วยจิตเวชต้องไปรับการตรวจรักษาที่โรงพยาบาลแม่ข่ายคือ รพ.บาเจาะและ รพ.จิตเวชสงขลา ซึ่งต้องจัดหายานพาหนะและเสียค่าใช้จ่ายในการเดินทางเป็นจำนวนมาก ผู้ป่วยจิตเวชส่วนใหญ่มีปัญหาเรื่องเศรษฐกิจและผู้ดูแล ส่งผลให้ผู้ป่วยบางคนไม่ไปรับยาไม่ต่อเนื่องและมีการส่งต่อเพื่อไปรับการตรวจรักษาจากจิตแพทย์เป็นจำนวนมากโดยในปี ๒๕๕๙ มีการส่งต่อเพื่อไป รพ.จิตเวชสงขลา จำนวน๒ ราย งานสุขภาพจิตโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบาเระเหนือจึง เห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าวจึงได้จัดทำโครงการพัฒนาระบบบริการงานสุขภาพจิตและจิตเวชโดยการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในชุมชนตำบลบาเระเหนือนี้ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ๑. เพื่อให้ผู้ป่วยจิตเวชได้รับการตรวจรักษาและพบจิตแพทย์ตามนัด
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
100
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑.ผู้ป่วยสุขภาพจิตและจิตเวช สามารถเข้าถึงบริการ ได้รับการบริการที่มีคุณภาพเพิ่มขึ้น
๒.ประหยัดค่าใช้จ่ายจากการส่งต่อผู้ป่วยจิตเวชทั้งในส่วนของโรงพยาบาลและครอบครัวผู้ป่วย
๓.โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบาเระเหนือการจัดบริการสุขภาพจิตและจิตเวชได้อย่างเป็นรูปธรรมและมีประสิทธิภาพ
๔.ภาคีเครือข่ายในชุมชนและญาติเข้ามามีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วยและผู้ป่วยไม่ถูกทอดทิ้งตามลำพัง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
๑. เพื่อให้ผู้ป่วยจิตเวชได้รับการตรวจรักษาและพบจิตแพทย์ตามนัด
ตัวชี้วัด :
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
100
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
100
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อให้ผู้ป่วยจิตเวชได้รับการตรวจรักษาและพบจิตแพทย์ตามนัด
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการพัฒนาระบบบริการงานสุขภาพจิตและจิตเวชโดยการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในชุมชนตำบลบาเระเหนือ ปีงบประมาณ 2560 จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 60-L2489-11
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบาเระเหนือ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการพัฒนาระบบบริการงานสุขภาพจิตและจิตเวชโดยการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในชุมชนตำบลบาเระเหนือ ปีงบประมาณ 2560 ”
ตำบลบาเระเหนือ อำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบาเระเหนือ
กันยายน 2560
ที่อยู่ ตำบลบาเระเหนือ อำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 60-L2489-11 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการพัฒนาระบบบริการงานสุขภาพจิตและจิตเวชโดยการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในชุมชนตำบลบาเระเหนือ ปีงบประมาณ 2560 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบาเระเหนือ อำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาเระเหนือ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาระบบบริการงานสุขภาพจิตและจิตเวชโดยการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในชุมชนตำบลบาเระเหนือ ปีงบประมาณ 2560
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการพัฒนาระบบบริการงานสุขภาพจิตและจิตเวชโดยการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในชุมชนตำบลบาเระเหนือ ปีงบประมาณ 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบาเระเหนือ อำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 60-L2489-11 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาเระเหนือ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ด้วยภาวะการแข่งขันด้านเศรษฐกิจและสังคม รวมทั้งการเปลี่ยนแปลงด้านการเมืองการปกครองล้วนมีผลต่อภาวะจิตใจของประชาชนผู้ที่ไม่สามารถปรับตัวให้เข้ากับสภาวะดังกล่าวได้จะเกิดความเครียดเพิ่มสูงขึ้น และอาจรุนแรงถึงขั้นมีภาวะเจ็บป่วยทางจิตใจได้การเจ็บป่วยทางจิตเป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญและส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของบุคคล ครอบครัวและชุมชน ถึงแม้ปัญหาสุขภาพจิตจะส่งผลต่ออัตราการตายค่อนข้างต่ำและไม่ทำให้สูญเสียถึงแก่ชีวิต แต่เมื่อเกิดปัญหาสุขภาพจิตขึ้นกับประชาชนทั่วไปอาทิเช่น อาละวาด ทำร้ายผู้คน ฯลฯ จะพบความเสี่ยงต่อชีวิตความทุกข์ทรมาน และมีผลกระทบที่ชัดเจนต่อครอบครัวและชุมชน โรงพยาบาลสุขภาพตำบลบาเระเหนือมีผู้ป่วยจิตเวชที่เข้ารับการ จำนวน ๒๖ คน ผู้ป่วยซึมเศร้า ๓๘ คน จากการดำเนินงานจิตเวชพบว่าผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษาบางรายได้รับยาไม่ต่อเนื่องสม่ำเสมอบางครั้งจะมีอาการกำเริบและเรื้อรัง สาเหตุหลักคือความยากจน ไม่สามารถหยุดทำงานได้ ทำให้ไม่อาจไปรับยาอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งการทำงานหนักและการกินยาทำให้ตัวแข็ง น้ำลายไหล จึงเป็นเหตุให้ผู้ป่วยไม่ยอมกินยาอีกทั้งญาติผู้ดูแลและชุมชนยังไม่ยอมรับผู้ป่วยจิตเวชทำให้เกิดการทอดทิ้งผู้ป่วยตามลำพังและมักจะกำเริบได้ตลอดเวลาเช่น การตะโกนอาละวาด ทำร้ายข้าวของ และทำร้ายคน โดยผู้ป่วยโรคจิตเภทที่ขาดยา โรคจิตจากการใช้สารเสพติดและเป็นผู้ที่มีพฤติกรรมการใช้สารเสพติด นับว่าเป็นปัญหาที่มีความรุนแรงที่จำเป็นต้องแก้ปัญหาอย่างเร่งด่วนซึ่งน่าจะป้องกันได้หากมีการดูแลที่เหมาะสมตั้งแต่ต้นจากทีมสหวิชาชีพ ซึ่งประกอบด้วย จิตแพทย์ พยาบาลจิตเวช นักจิตวิทยาคลินิกร่วมกับเครือข่ายในชุมชนได้แก่แกนนำอสม. แกนนำชุมชนอบต. ฯลฯ แต่ในการปฏิบัติงานปัจจุบันนั้นเป็นการให้บริการโดยพยาบาลจิตเวชผู้ป่วยจิตเวชต้องไปรับการตรวจรักษาที่โรงพยาบาลแม่ข่ายคือ รพ.บาเจาะและ รพ.จิตเวชสงขลา ซึ่งต้องจัดหายานพาหนะและเสียค่าใช้จ่ายในการเดินทางเป็นจำนวนมาก ผู้ป่วยจิตเวชส่วนใหญ่มีปัญหาเรื่องเศรษฐกิจและผู้ดูแล ส่งผลให้ผู้ป่วยบางคนไม่ไปรับยาไม่ต่อเนื่องและมีการส่งต่อเพื่อไปรับการตรวจรักษาจากจิตแพทย์เป็นจำนวนมากโดยในปี ๒๕๕๙ มีการส่งต่อเพื่อไป รพ.จิตเวชสงขลา จำนวน๒ ราย งานสุขภาพจิตโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบาเระเหนือจึง เห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าวจึงได้จัดทำโครงการพัฒนาระบบบริการงานสุขภาพจิตและจิตเวชโดยการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในชุมชนตำบลบาเระเหนือนี้ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ๑. เพื่อให้ผู้ป่วยจิตเวชได้รับการตรวจรักษาและพบจิตแพทย์ตามนัด
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 100 | |
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑.ผู้ป่วยสุขภาพจิตและจิตเวช สามารถเข้าถึงบริการ ได้รับการบริการที่มีคุณภาพเพิ่มขึ้น ๒.ประหยัดค่าใช้จ่ายจากการส่งต่อผู้ป่วยจิตเวชทั้งในส่วนของโรงพยาบาลและครอบครัวผู้ป่วย ๓.โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบาเระเหนือการจัดบริการสุขภาพจิตและจิตเวชได้อย่างเป็นรูปธรรมและมีประสิทธิภาพ ๔.ภาคีเครือข่ายในชุมชนและญาติเข้ามามีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วยและผู้ป่วยไม่ถูกทอดทิ้งตามลำพัง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ๑. เพื่อให้ผู้ป่วยจิตเวชได้รับการตรวจรักษาและพบจิตแพทย์ตามนัด ตัวชี้วัด : |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 100 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 100 | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อให้ผู้ป่วยจิตเวชได้รับการตรวจรักษาและพบจิตแพทย์ตามนัด
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการพัฒนาระบบบริการงานสุขภาพจิตและจิตเวชโดยการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในชุมชนตำบลบาเระเหนือ ปีงบประมาณ 2560 จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 60-L2489-11
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบาเระเหนือ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......