กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา


“ โครงการการใช้ยาอย่างสมเหตุผลป้องกันคนในชุมชนเกิดเชื้อดื้อยา ”

ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นายสัญญา ยือราน เภสัชกรชำนาญการ หัวหน้างานเภสัชกรรม สำนักการสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม

ชื่อโครงการ โครงการการใช้ยาอย่างสมเหตุผลป้องกันคนในชุมชนเกิดเชื้อดื้อยา

ที่อยู่ ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 61-L7452-1-09 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2561 ถึง 30 ธันวาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการการใช้ยาอย่างสมเหตุผลป้องกันคนในชุมชนเกิดเชื้อดื้อยา จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการการใช้ยาอย่างสมเหตุผลป้องกันคนในชุมชนเกิดเชื้อดื้อยา



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ประชาชนมีความรู้เรื่องเชื้อดื้อยาและตระหนักในการใช้ยาต้านจุลชีพอย่างเหมาะสมเพิ่มขึ้น (2) ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้อง เกี่ยวกับการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล (3) เพื่อสร้างความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมผ่านกองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การประชุมชี้แจงตัวแทนองค์กร เครือข่ายภาคประชาสังคม เจ้าหน้าที่สำนักการสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลนครยะลา และการประชาสัมพันธ์โครงการในชุมชน จำนวน 60 คน (2) การอบรมเชิงปฏิบัติการด้วยการให้ความรู้เรื่องเชื้อดื้อยา และตระหนักการใช้ยาต้านจุลชีพอย่างเหมาะสม ให้แก่ องค์กร เครือข่ายภาคประชาสังคม สื่อมวลชน จำนวน 203 คน (3) การจัดนิทรรศการและประชาสัมพันธ์ในโรงเรียน 8 แห่ง และชุมชน 20 ชุมชน ภายในเขตเทศบาล (4) การอบรมเชิงปฏิบัติการด้วยการให้ความรู้เรื่องเชื้อดื้อยาและตระหนักการใช้ยาต้านจุลชีพอย่างเหมาะสม ให้แก่ ครู อาจารย์ นักเรียน นักศึกษา ของสถานศึกาาในเขตเทศบาล จำนวน 10 แห่ง รวมทั้งหมด 1,447 คน (5) การอบรมเชิงปฏิบัติการด้วยให้ความรู้เรื่องเชื้อดื้อยาและตระหนักการใช้ยาต้านจุลชีพอย่างเหมาะสม ให้แก่ ประชาชนในชุมชนเขตเทศบาลนครจำนวน 20 ชุมชน รวมจำนวน 843 คน จากการดำเนินงานสามารถจัดโครงการเพื่อให้ประชาชนเข้าร่วมได้จำนวน 20 ชุมชน จากทั้งหมด 40 ชุมชน คิดเป็นร้อยละ 50 ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้อง เกี่ยวกับการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล โดยการประเมิน ก่อน และหลังการอบรม ผลการประเมินก่อนการอบรม เท่ากับร้อยละ 68.74 และหลังการอบรม เท่ากับร้อยละ 89.75 จะเห็นว่าผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้เพิ่มขึ้นร้อยละ 21.01 และประชาชนในชุมชนมีความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมผ่านกองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา เท่ากับร้อยละ 92.46 จากระดับความพึงพอใจเฉลี่ยเท่ากับร้อยละ 4.62 (ความพึงพอใจมากที่สุด)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ ควรมีการวางแผนการดำเนินงานที่ชัดเจนและยืดหยุ่นได้ เนื่องจากปัญหาอุปสรรคเรื่องเวลา ของทั้งสถานศึกษาและชุมชน

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

องค์การอนามัยโลกให้คำจำกัดความของ “ การใช้ยาอย่างสมเหตุผล (rational drug use)” ไว้ คือ “ ผู้ป่วยได้รับยาที่เหมาะสมกับปัญหาสุขภาพ โดยใช้ยาในขนาดที่เหมาะสมกับผู้ป่วยแต่ละราย ด้วยระยะเวลาการรักษาที่เหมาะสม และมีค่าใช้จ่ายต่อชุมชนและผู้ป่วยน้อยที่สุด” (WHO,1985) การใช้ยาอย่างไม่สมเหตุผลเป็นปัญหาที่จำเป็นต้องได้รับการแก้ไขอย่างเร่งด่วน โดยเฉพาะการใช้ยาต้านจุลชีพอย่างไม่สมเหตุผล ข้อมูลปี 2554 กระทรวงสาธารณสุขเผยว่า ในรอบ 10 ปี ไทยพบปัญหาเชื้อแบคทีเรีย 4 ชนิด ที่พบบ่อยดื้อยาปฏิชีวนะ สูงกวา 30 เท่าตัว เพราะเหตุการณ์ใช้ยาปฏิชีวนะไม่ถูกโรค ไม่ถูกวิธี อัตราการเสียชีวิตจากเชื้อดื้อยาประมาณปีละ 20,000 – 38,000 คน ผู้ป่วยต้องนอนโรงพยาบาลนานกว่าปกติ คิดเป็นการสูญเสียทางเศรษฐกิจถึงปีละ 46,000 ล้านบาท มากกว่าจำนวนผู้เสียชีวิตจากโรคหัวใจขาดเลือดและจากอุบัติเหตุ แผนยุทธศาสตร์การจัดการดื้อยาต้านจุลชีพประเทศไทย พ.ศ.2560-2564 ของกระทรวงสาธารณสุขร่วมกับกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ มีการกำหนดวิสัยทัศน์ และกำหนดเป้าประสงค์ที่ต้องการบรรลุภายในปี 2564 ไว้ 5 ประการ ที่สำคัญต่อประชาชน คือ ประชาชนมีความรู้เรื่องเชื้อดื้อยาและตระหนักการใช้ยาต้านจุลชีพอย่างเหมาะสมเพิ่มขึ้นร้อยละ 20     จากข้อมูลจำนวนผู้ป่วยเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพของโรงพยาบาลยะลา ประจำปี 2557-2559 พบว่า มีจำนวน 817,799 และ 1,013 คน ตามลำดับ และจากผลการสำรวจปัญหาการใช้ยาในชุมชนคูหามุข ในปี 2556 พบว่า ประเด็นปัญหาสำคัญส่วนใหญ่ประชาชนไม่ทราบความแตกต่างของยาปฏิชีวนะกับยาแก้อักเสบ คิดเป็นร้อยละ 41.33 ซื้อยาชุดจากร้านชำมากินเอง คิดเป็นร้อยละ 21.33 และจากข้อมูลผลการสำรวจพฤติกรรมการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างไม่เหมาะสมในชุมชนคุปตาสา พบว่า ประชาชนส่วนใหญ่เมื่อมีอาการเป็นหวัด น้ำมูกไหล เจ็บคอ จะมีการใช้ยาปฏิชีวนะในโรคติดเชื้อที่ระบบการหายใจช่วงบนและหลอดลมอักเสบ เฉียบพลันเป็นลำดับแรก คิดเป็นร้อยละ 83.33 และเมื่อมีบาดแผลสดจากอุบัติเหตุมีการใช้ยาปฏิชีวนะในโรคบาดแผลสดนั้นเป็นลำดับแรก คิดเป็นร้อยละ 81.33       จากความสำคัญดังกล่าวจะเห็นได้ว่า การพัฒนากลไกและเครื่องมือเพื่อให้เกิดการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผลด้วยการสร้างความเข้มแข็งภาคประชาชนด้านการใช้ยาอย่างสมเหตุผล และการพัฒนาระบบและกลไกป้องกันและแก้ไขปัญหาที่เกิดจากการใช้ยาต้านจุลชีพ และการดื้อยาของเชื้อก่อโรค เป็นสิ่งที่ควรดำเนินการเป็นอย่างยิ่ง ดังนั้น งานเภสัชกรรมสำนักการสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลนครยะลา ร่วมกับภาคีเครือข่ายภาครัฐ ภาคประชาชนในชุมชนนำร่อง ร่วมกับกองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา จัดทำโครงการใช้ยาอย่างสมเหตุผล ป้องกันคนในชุมชนเกิดเชื้อดื้อยานี้ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่ 1 ประชาชนมีความรู้เรื่องเชื้อดื้อยาและตระหนักในการใช้ยาต้านจุลชีพอย่างเหมาะสมเพิ่มขึ้น
  2. ข้อที่ 2 ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้อง เกี่ยวกับการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล
  3. ข้อที่ 3 เพื่อสร้างความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมผ่านกองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. การประชุมชี้แจงตัวแทนองค์กร เครือข่ายภาคประชาสังคม เจ้าหน้าที่สำนักการสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลนครยะลา และการประชาสัมพันธ์โครงการในชุมชน จำนวน 60 คน
  2. การอบรมเชิงปฏิบัติการด้วยการให้ความรู้เรื่องเชื้อดื้อยา และตระหนักการใช้ยาต้านจุลชีพอย่างเหมาะสม ให้แก่ องค์กร เครือข่ายภาคประชาสังคม สื่อมวลชน จำนวน 200 คน
  3. การจัดนิทรรศการและประชาสัมพันธ์ในโรงเรียน 10 แห่ง และชุมชน 20 ชุมชน ภายในเขตเทศบาล
  4. การอบรมเชิงปฏิบัติการด้วยการให้ความรู้เรื่องเชื้อดื้อยาและตระหนักการใช้ยาต้านจุลชีพอย่างเหมาะสม ให้แก่ ครู อาจารย์ นักเรียน นักศึกษา ของสถานศึกาาในเขตเทศบาล จำนวน 10 แห่งๆ ละ 100 คน รวมทั้งหมด 1,000 คน
  5. การอบรมเชิงปฏิบัติการด้วยให้ความรู้เรื่องเชื้อดื้อยาและตระหนักการใช้ยาต้านจุลชีพอย่างเหมาะสม ให้แก่ ประชาชนในชุมชนเขตเทศบาลนครจำนวน 20 ชุมชนๆ ละ 30 คน รวมจำนวน 600 คน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 1,000
กลุ่มวัยทำงาน 200
กลุ่มผู้สูงอายุ 600
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 1,800
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. การพัฒนาระบบพื้นฐานด้านการสร้างองค์ความรู้ การพัฒนาและขับเคลื่อนทางนโยบาย การใช้สื่อสำหรับการรณรงค์แก่ประชาชน และการรณรงค์ความตระหนัก ความรู้ และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของประชาชนในพื้นที่

  2. การพัฒนาชุมชนต้นแบบที่มีการใช้ยาอย่างสมเหตุผลป้องกันประชาชนในชุมชนเกิดเชื้อดื้อยา ด้วยการใช้มาตรการ การอบรมให้ความรู้ การประชาสัมพันธ์ผ่านเครื่องมือ/สื่อ ที่เตรียมขึ้นอย่างสอดคล้องกับปัญหา/ข้อมูล/บริบทของชุมชนเพื่อเฝ้าระวังเชื้อแบคทีเรียดื้อยาต้านจุลชีพ

  3. การเสริมสร้างความเข้มแข็งและการมีส่วนร่วมของชุมชนและภาคีเครือข่าย

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. การประชุมชี้แจงตัวแทนองค์กร เครือข่ายภาคประชาสังคม เจ้าหน้าที่สำนักการสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลนครยะลา และการประชาสัมพันธ์โครงการในชุมชน จำนวน 60 คน

วันที่ 30 พฤษภาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

  • เปิดการประชุมชี้แจงโดยนายยู่สิน จินตภากร รองนายกเทศมนตรีนครยะลา
  • ชี้แจงรายละเอียดโครงการ โดย ภก.สัญญา ยือราน
  • เปิกข้อซักถาม ปัญหา อุปสรรค

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต เครือข่ายเข้าร่วมทั้งสถานศึกษา สื่อ คณะกรรกการชุมชน อสม บุคลากร เจ้าหน้าที่จากโรงพยาบาลยะลา ศุนย์อนามัยที่ 12 ยะลา  จำนวนทั้งสิ้น 203 คน ผลลัพธ์ เข้าใจสถานการณ์ และพร้อมให้ความร่วมมือ

 

60 0

2. การอบรมเชิงปฏิบัติการด้วยการให้ความรู้เรื่องเชื้อดื้อยา และตระหนักการใช้ยาต้านจุลชีพอย่างเหมาะสม ให้แก่ องค์กร เครือข่ายภาคประชาสังคม สื่อมวลชน จำนวน 200 คน

วันที่ 13 มิถุนายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

กำหนดการ การประชุมวิชาการ เรื่อง “เชื้อดื้อยาและปัญหาการใช้ยาปฏิชีวนะ (ยาต้านจุลชีพ) อย่างไม่เหมาะสม” ณ ห้องประชุมเทศบาล เทศบาลนครยะลา วันที่....13......เดือน....มิถุนายน.......พ.ศ....2562............. เวลา 09.00 น. – 16.30 น.

08.00 น. - 08.30 น. ลงทะเบียนการอบรม

08.30 น. - 09.00 น. พิธีเปิดการประชุมวิชาการ
โดย นายยู่สิน จินตากร                                     รองนายกเทศมนตรีนครยะลา การแสดง “เต้น ต่อ ต้านเชื้อดื้อยา” โดย ทีมเยาวชน เทศบาลนครยะลา 09.00 น. - 10.00 น. บรรยายวิชาการเรื่อง “สถานการณ์เชื้อดื้อยาและปัญหาการใช้ยาปฏิชีวนะ” โดย ภญ.โศภิต สิทธิพันธ์ เภสัชกรชำนาญการพิเศษ
          กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภคและเภสัชสาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนราธิวาส 10.00 น. - 11.00 น. บรรยายวิชาการเรื่อง “นโยบาย และการจัดการปัญหาการใช้ยาปฏิชีวนะและเชื้อดื้อยา” โดย ภญ.โศภิต สิทธิพันธ์ เภสัชกรชำนาญการพิเศษ
          กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภคและเภสัชสาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนราธิวาส 11.00 น. - 12.00 น บรรยายวิชาการเรื่อง “การสร้างกลไกชุมชนเฝ้าระวังการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างไม่เหมาะสม” โดย ภก.อาภัย มาลินี เภสัชกรชำนาญการ           กลุ่มงานเภสัชกรรมและคุ้มครองผู้บริโภค โรงพยาบาลโคกโพธ์ จังหวัดปัตตานี 12.00 น. - 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน 13.00 น. - 14.00 น. บรรยายวิชาการเรื่อง “3 โรคที่หายได้ ไม่ต้องใช้ยาปฏิชีวนะ” โดย พญ.นูรลัยลา กระจ่างลิขิต นายแพทย์ชำนาญการ       กลุ่มงานเวชกรรมสังคม โรงพยาบาลยะลา 14.00 น. - 15.00 น.      บรรยายวิชาการเรื่อง “ประสบการณ์พลังเครือข่ายชุมชนกับการป้องกันเชื้อดื้อยา” โดย ภญ.โศภิต สิทธิพันธ์ เภสัชกรชำนาญการพิเศษ
          กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภคและเภสัชสาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนราธิวาส หมายเหตุ พักรับประทานอาหารว่าง ช่วงเช้า เวลา 10.50 น. - 11.00 น. และ ช่วงบ่าย เวลา 14.00 น. - 14.10 น.

กำหนดการ (ต่อ) การประชุมวิชาการ เรื่อง “เชื้อดื้อยาและปัญหาการใช้ยาปฏิชีวนะ (ยาต้านจุลชีพ) อย่างไม่เหมาะสม” ณ ห้องประชุมเทศบาลนครยะลา วันที่....13......เดือน....มิถุนายน.......พ.ศ....2562............. เวลา 09.00 น. – 16.30 น.


15.00 น. - 16.00 น.      บรรยายวิชาการเรื่อง “ประสบการณ์พลังเครือข่ายชุมชนกับการป้องกันเชื้อดื้อยา” (ต่อ) โดย ภก.อาภัย มาลินี เภสัชกรชำนาญการ           กลุ่มงานเภสัชกรรมและคุ้มครองผู้บริโภค โรงพยาบาลโคกโพธ์ จังหวัดปัตตานี 16.00 น. – 16.30 สรุปและปิดการประชุมวิชาการ โดย นางสาวบังอร พรหมมินทร์       ผู้อำนวยการสำนักการสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลนครยะลา


หมายเหตุ ผู้ประสานงานการจัดประชุม ภก.สัญญา ยือราน เภสัชกรชำนาญการ สำนักการสาธารณสุขและ                     สิ่งแวดล้อม เทศบาลนครยะลา หมายเลขโทรศัพท์ 089-8705625

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้อง เกี่ยวกับการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล โดยการประเมิน ก่อน และหลังการอบรม ผลการประเมินก่อนการอบรม เท่ากับร้อยละ 72.46 และหลังการอบรม เท่ากับร้อยละ 89.83 จะเห็นว่าผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้เพิ่มขึ้นร้อยละ 17.37

 

200 0

3. การจัดนิทรรศการและประชาสัมพันธ์ในโรงเรียน 10 แห่ง และชุมชน 20 ชุมชน ภายในเขตเทศบาล

วันที่ 14 มิถุนายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

  • เตรียมข้อมูล
  • ส่งร้านจัดทำป้าย
  • จัดนิทรรศการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

การแบ่งพื้นที่อาศัยของประชาชนในเขตเทศบาลนครยะลาแบ่งออกเป็น 40 ชุมชน จากการดำเนินงานสามารถจัดโครงการเพื่อให้ประชาชนเข้าร่วมได้จำนวน 20 ชุมชน คิดเป็นร้อยละ 50 ประกอบด้วย
    1 ชุมชนคูหามุข     2 ชุมชนตลาดเกษตร     3 ชุมชนหลังวัดเมือง     4 ชุมชนหน้าศูนย์แม่     5 ชุมชนการเคหะ     6 ชุมชนอยู่ดีมีสุข     7 ชุมชนมุสลิมสัมพันธ์     8 ชุมชนตลาดเก่า ซอย 8     9 ชุมชนเบญจมิตรสัมพันธ์     10 ชุมชนคนรักถิ่น     11 ชุมชนหลังโรงเรียนจีน     12 ชุมชนคุปตาสา     13 ชุมชนธนวิถีพัฒนา     14 ชุมชนพิทยนิโรธ     15 ชุมชนผังเมือง 4
    16 ชุมชนห้าแยกกำปงบาโงย     17 ชุมชนวิฑูรอุทิศ 10     18 ชุมชนจารูนอก     19 ชุมชนดารุสสลาม     20 ชุมชนบ้านร่ม - ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้อง เกี่ยวกับการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล โดยการประเมิน ก่อน และหลังการอบรม ผลการประเมินก่อนการอบรม เท่ากับร้อยละ 68.74 และหลังการอบรม เท่ากับร้อยละ 89.75 จะเห็นว่าผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้เพิ่มขึ้นร้อยละ  21.01
-  ประชาชนในชุมชนมีความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมผ่านกองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลาเป็นจำนวนร้อยละ 92.46 จากระดับความพึงพอใจเฉลี่ยเท่ากับ 4.62 (ความพึงพอใจมากที่สุด)

 

0 0

4. การอบรมเชิงปฏิบัติการด้วยการให้ความรู้เรื่องเชื้อดื้อยาและตระหนักการใช้ยาต้านจุลชีพอย่างเหมาะสม ให้แก่ ครู อาจารย์ นักเรียน นักศึกษา ของสถานศึกาาในเขตเทศบาล จำนวน 10 แห่งๆ ละ 100 คน รวมทั้งหมด 1,000 คน

วันที่ 14 มิถุนายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

กำหนดการ การประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “เชื้อดื้อยาและปัญหาการใช้ยาปฏิชีวนะ (ยาต้านจุลชีพ) อย่างไม่เหมาะสม” ณ ห้องประชุม โรงเรียนคณะราษฎรบำรุง จังหวัดยะลา วันที่....14......เดือน....มิถุนายน.......พ.ศ....2562............. เวลา 08.30 น. – 16.00 น.

08.00 น. - 08.30 น. ลงทะเบียนการอบรม 08.30 น. - 09.00 น. พิธีเปิดการประชุมเชิงปฏิบัติการ
โดย นายอนุชิต กาญจนานุชิต                                     รองนายกเทศมนตรีนครยะลา 09.00 น. - 10.00 น. บรรยายวิชาการเรื่อง “สถานการณ์เชื้อดื้อยาและปัญหาการใช้ยาปฏิชีวนะ” โดย ภก.สัญญา ยือราน เภสัชกรชำนาญการ               หัวหน้างานเภสัชกรรม สำนักการสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลนครยะลา 10.00 น. - 10.10 น. พักรับประทานอาหารว่าง 10.10 น. - 12.00 น. บรรยายวิชาการเรื่อง “บทบาทนักเรียนกับการเฝ้าระวังการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างไม่ เหมาะสม”
โดย ภก.สัญญา ยือราน เภสัชกรชำนาญการ               หัวหน้างานเภสัชกรรม สำนักการสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลนครยะลา 12.00 น. - 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน 13.00 น. - 14.00 น. แบ่งกลุ่มฝึกปฏิบัติการ ประเด็นเรื่อง “หยุดใช้ยาปฏิชีวนะอย่างพร่ำเพรื่อ” โดย ภก.สัญญา ยือราน เภสัชกรชำนาญการ               หัวหน้างานเภสัชกรรม สำนักการสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลนครยะลา 14.00 น. - 14.10 น. พักรับประทานอาหารว่าง

14.10 น. - 16.00 น.      นำเสนอฝึกปฏิบัติการกลุ่ม ประเด็นเรื่อง “หยุดใช้ยาปฏิชีวนะอย่างพร่ำเพรื่อ” โดย ภก.สัญญา ยือราน เภสัชกรชำนาญการ               หัวหน้างานเภสัชกรรม สำนักการสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลนครยะลา 16.00 น. – 16.30 สรุปและปิดการประชุมวิชาการ โดย ผู้อำนวยการโรงเรียนคณะราษฎรบำรุง จังหวัดยะลา

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้อง เกี่ยวกับการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล โดยการประเมิน ก่อน และหลังการอบรม ผลการประเมินก่อนการอบรม เท่ากับร้อยละ 67.25 และหลังการอบรม เท่ากับร้อยละ 95.71 จะเห็นว่าผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้เพิ่มขึ้นร้อยละ  28.46 -  ประชาชนในชุมชนมีความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมผ่านกองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลาเป็นจำนวนร้อยละ 91.75 จากระดับความพึงพอใจเฉลี่ยเท่ากับ 4.59 (ความพึงพอใจมากที่สุด)

 

1,000 0

5. การอบรมเชิงปฏิบัติการด้วยให้ความรู้เรื่องเชื้อดื้อยาและตระหนักการใช้ยาต้านจุลชีพอย่างเหมาะสม ให้แก่ ประชาชนในชุมชนเขตเทศบาลนครจำนวน 20 ชุมชนๆ ละ 30 คน รวมจำนวน 600 คน

วันที่ 20 มิถุนายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

กำหนดการ การประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “เชื้อดื้อยาและปัญหาการใช้ยาปฏิชีวนะ (ยาต้านจุลชีพ) อย่างไม่เหมาะสม” ณ ศูนย์ประสานงานชุมชนคูหามุข เทศบาลนครยะลา วันที่....20......เดือน....มิถุนายน.......พ.ศ....2562............. เวลา 08.30 น. – 16.00 น.

08.30 น. - 09.00 น. ลงทะเบียนการอบรม 09.00 น. - 11.00 น. บรรยายวิชาการเรื่อง “สถานการณ์เชื้อดื้อยาและปัญหาการใช้ยาปฏิชีวนะ” โดย ภก.สัญญา ยือราน เภสัชกรชำนาญการ               หัวหน้างานเภสัชกรรม สำนักการสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลนครยะลา 11.00 น. - 11.10 น. พักรับประทานอาหารว่าง 11.10 น. - 12.00 น. บรรยายวิชาการเรื่อง “การเฝ้าระวังการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างไม่เหมาะสมในชุมชน”
โดย ภก.สัญญา ยือราน เภสัชกรชำนาญการ               หัวหน้างานเภสัชกรรม สำนักการสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลนครยะลา 12.00 น. - 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน 13.00 น. - 14.00 น. ฝึกปฏิบัติการ ประเด็นเรื่อง “เรียนรู้ตัวอย่างการใช้ยายาปฏิชีวนะในครัวเรือน” โดย ภก.สัญญา ยือราน เภสัชกรชำนาญการ               หัวหน้างานเภสัชกรรม สำนักการสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลนครยะลา 14.00 น. - 14.10 น. พักรับประทานอาหารว่าง

14.10 น. - 16.00 น.      ฝึกปฏิบัติการ ประเด็นเรื่อง “เรียนรู้ตัวอย่างการใช้ยาปฏิชีวนะในครัวเรือน” (ต่อ) โดย ภก.สัญญา ยือราน เภสัชกรชำนาญการ               หัวหน้างานเภสัชกรรม สำนักการสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลนครยะลา

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

การแบ่งพื้นที่อาศัยของประชาชนในเขตเทศบาลนครยะลาแบ่งออกเป็น 40 ชุมชน จากการดำเนินงานสามารถจัดโครงการเพื่อให้ประชาชนเข้าร่วมได้จำนวน 20 ชุมชน คิดเป็นร้อยละ 50 ประกอบด้วย
    1 ชุมชนคูหามุข     2 ชุมชนตลาดเกษตร     3 ชุมชนหลังวัดเมือง     4 ชุมชนหน้าศูนย์แม่     5 ชุมชนการเคหะ     6 ชุมชนอยู่ดีมีสุข     7 ชุมชนมุสลิมสัมพันธ์     8 ชุมชนตลาดเก่า ซอย 8     9 ชุมชนเบญจมิตรสัมพันธ์     10 ชุมชนคนรักถิ่น     11 ชุมชนหลังโรงเรียนจีน     12 ชุมชนคุปตาสา     13 ชุมชนธนวิถีพัฒนา     14 ชุมชนพิทยนิโรธ     15 ชุมชนผังเมือง 4
    16 ชุมชนห้าแยกกำปงบาโงย     17 ชุมชนวิฑูรอุทิศ 10     18 ชุมชนจารูนอก     19 ชุมชนดารุสสลาม     20 ชุมชนบ้านร่ม -ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้อง เกี่ยวกับการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล โดยการประเมิน ก่อน และหลังการอบรม ผลการประเมินก่อนการอบรม เท่ากับร้อยละ 66.52 และหลังการอบรม เท่ากับร้อยละ 83.72 จะเห็นว่าผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้เพิ่มขึ้นร้อยละ  17.20 -  ประชาชนในชุมชนมีความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมผ่านกองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา เท่ากับร้อยละ 90.78 จากระดับความพึงพอใจเฉลี่ยเท่ากับ 4.54 (ความพึงพอใจมากที่สุด)

 

600 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

การดำเนินโครงการบรรลุตามวัตถุประสงค์ และดำเนินการครบทุกกิจกรรม ได้แก่ กิจกรรมที่ 1 การประชุมชี้แจงตัวแทนองค์กร เครือข่ายภาคประชาสังคม เจ้าหน้าที่สำนักการสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลนครยะลา และการประชาสัมพันธ์โครงการในชุมชน จำนวน 60 คน กิจกรรมที่ 2 การอบรมเชิงปฏิบัติการด้วยการให้ความรู้เรื่องเชื้อดื้อยา และตระหนักการใช้ยาต้านจุลชีพอย่างเหมาะสม ให้แก่ องค์กร เครือข่ายภาคประชาสังคม สื่อมวลชน จำนวน 203 คน กิจกรรมที่ 3 การอบรมเชิงปฏิบัติการด้วยการให้ความรู้เรื่องเชื้อดื้อยาและตระหนักการใช้ยาต้านจุลชีพอย่างเหมาะสม ให้แก่ ครู อาจารย์ นักเรียน นักศึกษา ของสถานศึกษาในเขตเทศบาล มีสถานศึกษาเข้าร่วมน้อยกว่าที่กำหนด คือ 8 แห่ง แต่กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมมากกว่า 1,000 คน ตามที่ตั้งไว้ ซึ่งมีจำนวน 1447 คน กิจกรรมที่ 4 การอบรมเชิงปฏิบัติการด้วยให้ความรู้เรื่องเชื้อดื้อยาและตระหนักการใช้ยาต้านจุลชีพอย่างเหมาะสม ให้แก่ ประชาชนในชุมชนเขตเทศบาลนคร สามารถดำเนินงานครบทั้ง 20 ชุมชน ที่ตั้งไว้ และมีเป้าหมายประชาชนที่เข้าร่วม 843 คน มากกว่าที่ตั้งไว้แค่ 600 คน กิจกรรมที่ 5 การจัดนิทรรศการและประชาสัมพันธ์ในสถานศึกษาภายในเขตเทศบาล จำนวน 8 แห่ง และชุมชน 20 ชุมชน

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ 1 ประชาชนมีความรู้เรื่องเชื้อดื้อยาและตระหนักในการใช้ยาต้านจุลชีพอย่างเหมาะสมเพิ่มขึ้น
ตัวชี้วัด : ข้อที่ 1 ร้อยละ 20 ของประชาชนในพื้นที่เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้เรื่องเชื้อดื้อยาและตระหนักในการใช้ยาต้านจุลชีพอย่างเหมาะสมเพิ่มขึ้น
20.00 21.01

 

2 ข้อที่ 2 ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้อง เกี่ยวกับการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล
ตัวชี้วัด : ข้อที่ 2 ร้อยละ 80 ของผู้เข้ารับการอบรมมีความตระหนักรู้และความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล
80.00 89.75

 

3 ข้อที่ 3 เพื่อสร้างความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมผ่านกองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา
ตัวชี้วัด : ข้อที่ 3 ประชาชนในชุมชนมีความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมผ่านกองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลาเป็นจำนวนร้อยละ 80
80.00 92.46

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 3600 2490
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 1,000 1,447
กลุ่มวัยทำงาน 200
กลุ่มผู้สูงอายุ 600
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 1,800 1,043
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ประชาชนมีความรู้เรื่องเชื้อดื้อยาและตระหนักในการใช้ยาต้านจุลชีพอย่างเหมาะสมเพิ่มขึ้น (2) ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้อง เกี่ยวกับการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล (3) เพื่อสร้างความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมผ่านกองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การประชุมชี้แจงตัวแทนองค์กร เครือข่ายภาคประชาสังคม เจ้าหน้าที่สำนักการสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลนครยะลา และการประชาสัมพันธ์โครงการในชุมชน จำนวน 60 คน (2) การอบรมเชิงปฏิบัติการด้วยการให้ความรู้เรื่องเชื้อดื้อยา และตระหนักการใช้ยาต้านจุลชีพอย่างเหมาะสม ให้แก่ องค์กร เครือข่ายภาคประชาสังคม สื่อมวลชน จำนวน 203 คน (3) การจัดนิทรรศการและประชาสัมพันธ์ในโรงเรียน 8 แห่ง และชุมชน 20 ชุมชน ภายในเขตเทศบาล (4) การอบรมเชิงปฏิบัติการด้วยการให้ความรู้เรื่องเชื้อดื้อยาและตระหนักการใช้ยาต้านจุลชีพอย่างเหมาะสม ให้แก่ ครู อาจารย์ นักเรียน นักศึกษา ของสถานศึกาาในเขตเทศบาล จำนวน 10 แห่ง รวมทั้งหมด 1,447 คน (5) การอบรมเชิงปฏิบัติการด้วยให้ความรู้เรื่องเชื้อดื้อยาและตระหนักการใช้ยาต้านจุลชีพอย่างเหมาะสม ให้แก่ ประชาชนในชุมชนเขตเทศบาลนครจำนวน 20 ชุมชน รวมจำนวน 843 คน จากการดำเนินงานสามารถจัดโครงการเพื่อให้ประชาชนเข้าร่วมได้จำนวน 20 ชุมชน จากทั้งหมด 40 ชุมชน คิดเป็นร้อยละ 50 ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้อง เกี่ยวกับการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล โดยการประเมิน ก่อน และหลังการอบรม ผลการประเมินก่อนการอบรม เท่ากับร้อยละ 68.74 และหลังการอบรม เท่ากับร้อยละ 89.75 จะเห็นว่าผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้เพิ่มขึ้นร้อยละ 21.01 และประชาชนในชุมชนมีความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมผ่านกองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา เท่ากับร้อยละ 92.46 จากระดับความพึงพอใจเฉลี่ยเท่ากับร้อยละ 4.62 (ความพึงพอใจมากที่สุด)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ ควรมีการวางแผนการดำเนินงานที่ชัดเจนและยืดหยุ่นได้ เนื่องจากปัญหาอุปสรรคเรื่องเวลา ของทั้งสถานศึกษาและชุมชน

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการการใช้ยาอย่างสมเหตุผลป้องกันคนในชุมชนเกิดเชื้อดื้อยา

รหัสโครงการ 61-L7452-1-09 ระยะเวลาโครงการ 1 กรกฎาคม 2561 - 30 ธันวาคม 2561

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

ไลน์กลุ่มสาธารณะเชื้อดื้อยา

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

มีป้ายประชาสัมพันธ์สร้างความตระหนัก การรวมกลุ่มกัน

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

ประชาชนในชุมชนมีการนวมกลุ่ม และตระหนักการใช้ยา

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการการใช้ยาอย่างสมเหตุผลป้องกันคนในชุมชนเกิดเชื้อดื้อยา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 61-L7452-1-09

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายสัญญา ยือราน เภสัชกรชำนาญการ หัวหน้างานเภสัชกรรม สำนักการสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด