กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา


“ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการส่งเสริมสุขภาพช่องปากในเด็กชั้นประถมศึกษา ”

ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวรุติมา สันลา เจ้าพนักงานทันตสาธารณสุขปฏิบัติงาน

ชื่อโครงการ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการส่งเสริมสุขภาพช่องปากในเด็กชั้นประถมศึกษา

ที่อยู่ ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 61–L7452-1-10 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2561 ถึง 30 ธันวาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการส่งเสริมสุขภาพช่องปากในเด็กชั้นประถมศึกษา จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการส่งเสริมสุขภาพช่องปากในเด็กชั้นประถมศึกษา



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการส่งเสริมสุขภาพช่องปากในเด็กชั้นประถมศึกษา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 61–L7452-1-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2561 - 30 ธันวาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 46,305.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันปัญหาฟันผุในเด็กประถมศึกษาเป็นปัญหาสำคัญอย่างหนึ่งของประเทศ แม้ว่าสำนักทันตสาธารณสุข กรมอนามัย จะมีนโยบายที่มุ่งหวังให้เด็กประถมศึกษามีสุขภาพช่องปากที่ดี และมีการพัฒนางานส่งเสริมป้องกันด้านทันตสุขภาพอย่างจริงจังแล้วก็ตาม ปัญหาทันตสาธารณสุขในโรงเรียนประถมศึกษา มีปัญหาโรคฟันผุและเหงือกอักเสบ จากข้อมูลการตรวจสุขภาพช่องปากนักเรียนโรงเรียนในเขตเทศบาลนครยะลา ซึ่งประกอบด้วยโรงเรียนเทศบาล 1- 6 และโรงเรียนนิบงชนูปถัมภ์ ของงานทันตสาธารณสุข สำนักการสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมเทศบาลนครยะลา และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพในเขตที่ได้รับมอบหมาย โรงเรียนเทศบาล 1 พบฟันผุมากที่สุด ร้อยละ 52.31 โรงเรียนเทศบาล 2 พบฟันผุร้อยละ 48.95 โรงเรียนเทศบาล 6 พบฟันผุ ร้อยละ 46.45 โรงเรียนเทศบาล 3 ฟันผุ ร้อยละ 39.75 โรงเรียนเทศบาล 5 ฟันผุร้อยละ 39.73 โรงเรียนเทศบาล 4 พบฟันผุร้อยละ 38.87 และนักเรียนโรงเรียนนิบงชนูปถัมภ์ พบฟันผุเฉลี่ยคิดเป็นร้อยละ 21.68 ตามลำดับ ซึ่งอยู่ในเกณฑ์สูงเกินตัวชี้วัดฟันผุ ถือเป็นปัญหาทางทันตสุขภาพ ซึ่งสาเหตุส่วนใหญ่มักเกิดจากการที่เด็กนักเรียนไม่มีการแปรงฟันหลังอาหารกลางวันและก่อนนอน อีกทั้งเด็กยังขาดความรู้ในการดูแลรักษาสุขภาพช่องปากและประโยชน์ของการแปรงฟัน ดังนั้น ผู้จัดทำโครงการได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของการพัฒนาระบบการแปรงฟันหลังอาหารกลางวันให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น จึงได้คัดเลือกโรงเรียนที่มีปัญหาฟันผุมากที่สุด 2 อันดับแรก คือโรงเรียนเทศบาล 1 และโรงเรียนเทศบาล 2 เป็นโรงเรียนนำร่องในการดูแลสุขภาพช่องปาก การดูแลระบบแปรงฟันและมีการพัฒนาทักษะนักเรียนให้มีความรู้ทันตสุขศึกษาและแปรงฟันได้ถูกวิธี เนื่องจากการได้รับรักษาจากทันตบุคลากรทางเดียวไม่สามารถทำให้สภาวะฟันผุลดลงได้ ถ้าไม่ได้รับการส่งเสริม ป้องกันและการดูแลสุขภาพจากตนเองได้ถูกต้องเสียก่อน อาจมีสาเหตุมาจากหลายปัจจัย เช่น การแปรงฟันไม่ถูกวิธี ขาดการดูแลเอาใจใส่จากผู้ปกครองบางส่วน ขาดอุปกรณ์และสถานที่แปรงฟันหลังอาหารกลางวัน เป็นต้น       ในการดำเนินงานโรงเรียนทันตสุขศึกษา เป็นการดำเนินงานภายใต้บริบทของการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง คือ โรงเรียน บ้าน ทันตบุคลากรของรัฐในการร่วมกันคิด วิเคราะห์ปัญหาทันตสุขภาพ ซึ่งทำให้การดำเนินงานด้านทันตสุขภาพเพื่อแก้ไขปัญหาในช่องปากเกิดขึ้นในโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ สามารถครอบคลุมได้ทั้ง นักเรียน ครู ผู้ปกครองและอาจรวมถึงชุมชนได้ด้วย     งานทันตกรรม สำนักการสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมเทศบาลนครยะลา จึงได้จัดทำโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการส่งเสริมสุขภาพช่องปากในเด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาขึ้น เพื่อพัฒนางานทันตสุขภาพในโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โดยมุ่งเน้นให้เกิดกิจกรรมของการดูแลสุขภาพช่องปากและเป็นกิจกรรมที่ยั่งยืนในโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่ 1 เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีความรู้ในด้านทันตสุขภาพอย่าง ถูกต้อง
  2. ข้อที่ 2 เพื่อให้นักเรียนสามารถแปรงฟันได้สะอาด

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 จัดอบรมเชิงปฏิบัติการสอนแปรงฟันโดยการย้อมคราบจุลินทรีย์ ครึ่งวันบ่าย 12 รุ่นๆ ละ 1 วัน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 477
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. นักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับทันตสุขภาพเพิ่มขึ้น
  2. นักเรียนมีทักษะในการแปรงฟันที่ถูกวิธี

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ 1 เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีความรู้ในด้านทันตสุขภาพอย่าง ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 80 ของนักเรียนมีความรู้ด้านทันต สุขภาพอยู่ในระดับดี
80.00

 

2 ข้อที่ 2 เพื่อให้นักเรียนสามารถแปรงฟันได้สะอาด
ตัวชี้วัด : 2. ร้อยละ 80 ของนักเรียนสามารถแปรงฟันได้สะอาดอยู่ในระดับดี (Good oral Hygiene) วัดจากดัชนีชี้วัดคราบจุลินทรีย์(Plaque Index)
80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 477
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 477
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1 เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีความรู้ในด้านทันตสุขภาพอย่าง          ถูกต้อง (2) ข้อที่ 2 เพื่อให้นักเรียนสามารถแปรงฟันได้สะอาด

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 จัดอบรมเชิงปฏิบัติการสอนแปรงฟันโดยการย้อมคราบจุลินทรีย์ ครึ่งวันบ่าย 12 รุ่นๆ ละ 1 วัน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการส่งเสริมสุขภาพช่องปากในเด็กชั้นประถมศึกษา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 61–L7452-1-10

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวรุติมา สันลา เจ้าพนักงานทันตสาธารณสุขปฏิบัติงาน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด