กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา


“ โครงการสร้างเสริมสุขภาพผ่านเทคโนโลยีการสื่อสารสำหรับผู้สูงอายุ ”

ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นายฮอง จันทร์อุย ประธานชมรมกายบริหารโยคะ

ชื่อโครงการ โครงการสร้างเสริมสุขภาพผ่านเทคโนโลยีการสื่อสารสำหรับผู้สูงอายุ

ที่อยู่ ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 61 – L7452 -2- 12 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2561 ถึง 30 ธันวาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสร้างเสริมสุขภาพผ่านเทคโนโลยีการสื่อสารสำหรับผู้สูงอายุ จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสร้างเสริมสุขภาพผ่านเทคโนโลยีการสื่อสารสำหรับผู้สูงอายุ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสร้างเสริมสุขภาพผ่านเทคโนโลยีการสื่อสารสำหรับผู้สูงอายุ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 61 – L7452 -2- 12 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2561 - 30 ธันวาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 33,950.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างอายุจากการฉายภาพประชากรของสหประชาชาติ ประเทศในประชาคมอาเซียนและประเทศไทย จะเข้าสู่สังคมสูงวัยทั้งหมดภายในปี พ.ศ. 2573 ประเทศไทยเข้าสู่ “สังคมสูงวัย” (Aged society) มาตั้งแต่ปี 2548 จากนั้นประเทศไทยจะใช้เวลา 16 ปี ก่อนจะกลายเป็น “สังคมสูงวัยอย่างสมบูรณ์” (Complete aged society) ในราวปี 2564 และจะใช้เวลาอีกเพียง 10 ปี ก็จะกลายเป็น “สังคมสูงวัยระดับสุดยอด” (Super aged society) ประมาณปี 2574 เมื่อคนไทยอายุยืนยาวขึ้นค่าใช้จ่ายของรัฐและครอบครัวในการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุจึงเป็นประเด็นสำคัญ รัฐบาลจึงต้องรีบเร่งวางนโยบายและหามาตรการต่างๆ เพื่อรองรับสังคมสูงอายุ สนับสนุนให้ผู้สูงอายุดำรงชีวิตอยู่อย่างมั่นคงและมีศักดิ์ศรี สร้างภูมิคุ้มกันให้ผู้สูงอายุในการปกป้องตนเองจากภัยรอบด้านด้วยการให้ข่าวสารความรู้ รวมทั้งพัฒนาเครื่องมือ/กลไก/เทคโนโลยีที่เหมาะสมกับการดำรงชีวิตอย่างปลอดภัยและมีศักดิ์ศรี     สำหรับในพื้นที่เทศบาลนครยะลา ประชากรอายุ 50 ปีขึ้นไป ในปี 2560 มีจำนวน 8,785 คน คิดเป็นร้อยละ 14.43 มีการเจ็บป่วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจขาดเลือด โรคหลอดเลือดสมอง และโรคเรื้อรังทางเดินหายใจ คิดเป็น 9,662.07, 24,702.52, 809.14, 1,261.30 และ 333.17 ต่อแสนประชากรตามลำดับ เพื่อเตรียมความพร้อมประชาชนในกลุ่มวัยนี้ ให้มีความรู้ในการดูแลสุขภาพตนเอง เพื่อเข้าสู่วัยผู้สูงอายุให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี โดยการสร้างเสริมสุขภาพด้วยการได้รับการพัฒนาด้านสุขภาพกาย จิตใจ และสังคม ผ่านเทคโนโลยีการสื่อสารด้วยการใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่สำหรับผู้สูงอายุ เป็นเครื่องมือการรับรู้ข่าวสารที่ทันสมัย สอดคล้องกับสังคมเศรษฐกิจในปัจจุบันที่ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม (Thailand 4.0) ของรัฐบาล     จากความสำคัญดังกล่าวจะเห็นได้ว่า การสร้างเสริมสุขภาพด้วยการได้รับการพัฒนาด้านสุขภาพกาย จิตใจ และสังคม ผ่านเทคโนโลยีการสื่อสารด้วยการใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่สำหรับผู้สูงอายุ เป็นสิ่งที่ควรดำเนินการเป็นอย่างยิ่ง ดังนั้น กลุ่มผู้สูงอายุ ร่วมกับกองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา จัดทำโครงการสร้างเสริมสุขภาพผ่านเทคโนโลยีการสื่อสารสำหรับผู้สูงอายุนี้ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่ 1 ผู้สูงอายุมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องการดูแลสุขภาพผ่านการใช้เทคโนโลยีการสื่อสารได้อย่างถูกต้อง
  2. ข้อที่ 2 ผู้สูงอายุสามารถเข้าถึงข้อมูลทางด้านสุขภาพได้อย่างถูกต้อง
  3. ข้อที่ 3 เพื่อสร้างความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมผ่านกองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 การประชุมชี้แจงการดำเนินโครงการผู้เกี่ยวข้อง จำนวน 10 คน
  2. กิจกรรมที่ 2 การประชุมเชิงปฏิบัติการ ผู้สูงอายุ จำนวน 100 คน แบ่งเป็น 2 รุ่นๆ ละ 50 คน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 100
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้สูงอายุสามารถรวมกลุ่มดำเนินกิจกรรม ดำรงชีวิตอยู่อย่างมั่นคงและมีศักดิ์ศรี สร้างภูมิคุ้มกัน ปกป้องตนเองจากภัยรอบด้านจากข้อมูลข่าวสาร และความรู้
  2. ผู้สูงอายุมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ดูแลสุขภาพตนเอง มีสุขภาพร่างกายแข็งแรง
  3. การเสริมสร้างความเข้มแข็งและการมีส่วนร่วมของชุมชนและภาคีเครือข่าย

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ 1 ผู้สูงอายุมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องการดูแลสุขภาพผ่านการใช้เทคโนโลยีการสื่อสารได้อย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ข้อที่ 1 ร้อยละ 80 ของผู้สูงอายุที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องการดูแลสุขภาพผ่านการใช้เทคโนโลยีการสื่อสารได้อย่างถูกต้อง
80.00

 

2 ข้อที่ 2 ผู้สูงอายุสามารถเข้าถึงข้อมูลทางด้านสุขภาพได้อย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ข้อที่ 2 ร้อยละ 80 ของผู้สูงอายุที่เข้าร่วมโครงการสามารถเข้าถึงข้อมูลทางด้านสุขภาพได้อย่างถูกต้อง
80.00

 

3 ข้อที่ 3 เพื่อสร้างความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมผ่านกองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา
ตัวชี้วัด : ข้อที่ 3 ผู้สูงอายุผู้เข้ารับการอบรมมีความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมผ่านกองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลาเป็นจำนวนร้อยละ 80
80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 100
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1 ผู้สูงอายุมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องการดูแลสุขภาพผ่านการใช้เทคโนโลยีการสื่อสารได้อย่างถูกต้อง  (2) ข้อที่ 2 ผู้สูงอายุสามารถเข้าถึงข้อมูลทางด้านสุขภาพได้อย่างถูกต้อง (3) ข้อที่ 3 เพื่อสร้างความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมผ่านกองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 การประชุมชี้แจงการดำเนินโครงการผู้เกี่ยวข้อง จำนวน 10 คน (2) กิจกรรมที่ 2 การประชุมเชิงปฏิบัติการ ผู้สูงอายุ จำนวน 100 คน แบ่งเป็น 2 รุ่นๆ ละ 50 คน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการสร้างเสริมสุขภาพผ่านเทคโนโลยีการสื่อสารสำหรับผู้สูงอายุ จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 61 – L7452 -2- 12

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายฮอง จันทร์อุย ประธานชมรมกายบริหารโยคะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด