โครงการเฝ้าระวังและตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านม รพ.สต.บ้านควน 2
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการเฝ้าระวังและตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านม รพ.สต.บ้านควน 2 ”
ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควน 2
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน
กันยายน 2560
ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังและตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านม รพ.สต.บ้านควน 2
ที่อยู่ ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 60-L5307-1-06 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 มกราคม 2560 ถึง 29 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเฝ้าระวังและตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านม รพ.สต.บ้านควน 2 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังและตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านม รพ.สต.บ้านควน 2
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเฝ้าระวังและตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านม รพ.สต.บ้านควน 2 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 60-L5307-1-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 มกราคม 2560 - 29 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 11,150.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันโรคมะเร็งเป็นสาเหตุการตายอันดับหนึ่งในประเทศไทย และมีแนวโน้มที่เพิ่มขึ้น โรคมะเร็งที่พบมากที่สุดในประเทศไทย คือ โรคมะเร็งตับ รองลงมาคือมะเร็งปอด มะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านม ตามลำดับ ในประเทศไทย โรคมะเร็งปากมดลูกเป็นโรคที่พบเป็นอันดับหนึ่งในสตรีไทย มีผู้ป่วยรายใหม่ประมาณปีละ ๖,๓๐๐ ราย พบมากที่สุดอายุระหว่าง ๔๕ – ๕๐ ปี ระยะที่พบส่วนใหญ่อยู่ในระยะลุกลาม อัตราการอยู่รอด ๕ ปี ประมาณร้อยละ ๖๐ จึงมีผู้ป่วยสะสมจำนวนมาก คาดว่าจะมีผู้ป่วยรายใหม่และรายเก่าที่ต้องติดตามทำการดูแลรักษาอยู่ไม่น้อยกว่า ๖๐,๐๐๐ คนทั่วประเทศ แต่อัตราการอยู่รอด ๕ ปีจะดีขึ้นถ้าพบในระยะเริ่มแรก (สถาบันมะเร็งแห่งชาติ,๒๕๕๐) ซึ่งจะเห็นว่าการป้องกันและควบคุมโรคตั้งแต่เริ่มต้นจึงมีความสำคัญ โดยการตรวจค้นหาเซลล์มะเร็งให้พบตั้งแต่อยู่ในระยะเริ่มแรกและในระยะก่อนเป็นมะเร็งซึ่งจะสามารถรักษาให้หายได้ และจะทำให้เสียค่าใช้จ่ายน้อยกว่าการรักษาในระยะลุกลาม และจากการศึกษา พบว่า การคัดกรองด้วยการทำ Pap smear และ VIA ในกลุ่มสตรีอายุ ๓๐ – ๖๐ ปี ทำให้ช่วยลดอัตราการเกิดและอัตราการตายจากโรคมะเร็งปากมดลูกได้
จากผลการดำเนินงานตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมของ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควนพบว่า ในปี ๒๕๕๓ – ๒๕๕๗ มีกลุ่มเป้าหมายที่ต้องตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก จำนวน ๔๔๙ คน ได้รับการตรวจ ๒๘๔ คน คิดเป็นร้อยละ ๖๓.๒๕ ตรวจพบความผิดปกติ จำนวน๒คน คิดเป็นร้อยละ ๐.๗๐และกลุ่มเป้าหมายที่ต้องตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมมี ๕๖๔ คน ได้รับการตรวจ ๕๐๙ คน คิดเป็นร้อยละ ๙๐.๒๔ตรวจพบความผิดปกติ จำนวน ๒ คน คิดเป็นร้อยละ๐.๓๙ และผลการดำเนินงานในปี ๒๕๕๘ – ๒๕๕๙ มีกลุ่มเป้าหมายที่ต้องตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก จำนวน ๕๐๗ คน ได้รับการตรวจ ๘๑ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๕.๙๗ ตรวจพบความผิดปกติ จำนวน ๖คน คิดเป็นร้อยละ ๗.๔๐และกลุ่มเป้าหมายที่ต้องตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมมี ๕๗๐ คน ได้รับการตรวจ ๕๑๗ คน คิดเป็นร้อยละ ๙๐.๗๐ตรวจพบความผิดปกติ จำนวน ๒ คน คิดเป็นร้อยละ๐.๓๘ซึ่งจะเห็นว่าสตรีวัยเจริญพันธ์ในกลุ่มเสี่ยงที่ได้รับการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูกยังมีจำนวนน้อย ทั้งนี้เนื่องมาจากประชาชน ยังมีทัศนคติที่ไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการตรวจ และความจำเป็นในการประกอบอาชีพ อีกทั้งอาจเข้าใจว่า โรคมะเร็งปากมดลูกไม่เกิดกับทุกคนเพราะในหมู่บ้านที่อาศัยอยู่ยังพบผู้ป่วยน้อยเมื่อเทียบกับโรคอื่นๆ
ดังนั้นเพื่อให้การคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมในสตรีวัยเจริญพันธุ์ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายและสามารถพบผู้ที่มีความผิดปกติตั้งแต่ระยะแรกเริ่มก่อนเป็นโรคมากขึ้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควนจึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวังและตรวจคัดกรอง มะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านม ขึ้นโดยการจัดอบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมายสตรีที่ยังไม่ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักถึงความสำคัญในการตรวจมะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านมและมารับการตรวจเพิ่มมากขึ้น อีกทั้งสนองนโยบายรัฐบาลให้สตรีไทยได้รับการตรวจเฝ้าระวังและดูแลตนเองได้เพื่อการมีสุขภาพดีถ้วนหน้า
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ๑.เพื่อให้สตรีในกลุ่มเป้าหมาย อายุ ๓๐ – ๗๐ ปี มีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านม
- ๒.เพื่อให้สตรีในกลุ่มเป้าหมาย อายุ ๓๐ – ๖๐ ปี เข้ารับการตรวจมะเร็งปากมดลูกเพิ่มมากขึ้น
- ๓.เพื่อให้สตรีในกลุ่มเป้าหมาย อายุ ๓๐ – ๗๐ ปีได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมและสามารถตรวจเต้านมด้วยตนเองได้อย่างถูกต้อง
- ๔.เพื่อให้สตรีในกลุ่มเป้าหมาย อายุ ๓๐ – ๗๐ ปีที่ตรวจพบความผิดปกติได้รับการส่งต่อ และรับการรักษาได้ทันเวลา
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
600
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. สตรีกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูก, มะเร็งเต้านมและเข้ารับการตรวจเพิ่มมากขึ้น
๒. สตรีกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองค้นหา โรคมะเร็งปากมดลูก , มะเร็งเต้านม
๓. สตรีกลุ่มเป้าหมายที่พบความผิดปกติได้รับการส่งต่อ และได้รับการรักษาทุกราย
๔. สตรีกลุ่มเป้าหมายสามารถตรวจเต้านมด้วยตนเองได้ถูกต้อง
๕. สามารถลดอัตราการป่วยของโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. จัดอบรมให้ความรู้กลุ่มเป้าหมาย จำนวน 60 คน
วันที่ 29 มิถุนายน 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
มีผู้เข้ารับการอบรม จำนวน 60 คน
ประเมินระดับความรู้ผู้เข้ารับการอบรม ก่อนอบรม ร้อยละ 61.11
ประเมินระดับความรู้ผู้เข้ารับการอบรม หลังอบรม ร้อยละ 84.22
60
60
2. จัดกิจกรรมประชาสัมพันธ์ อสม.ออกรณรงค์ให้กลุ่มเป้าหมาย ยอมตรวจมะเร็งเต้านม ปากมดลูก
วันที่ 29 มิถุนายน 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
สตรีกลุ่มเป้าหมายเข้ารับการตรวจมะเร็งปากมดลูก ร้อยละ 33.33
สตรีกลุ่มเป้าหมาย 498 คน ได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูก จำนวน 166 คน (ผลงานสะสม ปี 2558-2560)
ปี 2560 เป้าหมาย 120 คน เข้ารับการตรวจคัดกรองจำนวน 42 คน คิดเป็นร้อยละ 35.00
100
50
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
กิจกรรม อบรมให้ความรู้ เกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านม
ผลการประเมิน ระดับความรู้ก่อนการอบรม ร้อยละ 61.11 ระดับความรู้หลังการอบรม ร้อยละ 84.22 กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เพิ่มมากขึ้น
กิจกรรมเข้าตรวจมะเร็งปากมดลูก
ผลการประเมิน สตรีกลุ่มเป้าหมายเข้ารับการตรวจมะเร็งปากมดลูกร้อยละ 33.33 สตรีกลุ่มเป้าหมาย 498 คน ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก 166 คน (ผลงานสะสม ปี 2558 - 2560) ปี 2560 เป้าหมาย 120 คน ได้รับการตรวจ 42 คน คิดเป็นร้อยละ 35.00
กิจกรรมตรวจมะเร็งเต้านม
ผลการประเมิน สตรีกลุ่มเป้าหมายเข้ารับการตรวจมะเร็งเต้านม ร้อยละ 84.33 (สตรีกลุ่มเป้าหมาย 600 คน ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม 506 ตน)
กลุ่มสตรีที่ตรวจพบ ความผิดปกติ 2 คน ได้รับการส่งต่อและรักษา 2 คน คิดเป็นร้อยละ 100 (สตรีที่พบความผิดปกติ คือ การตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมส่งต่อได้รับการตรวจรักษาแล้ว ไม่ได้เป็นมะเร็งเต้านม แพทย์นัดตรวจต่อเนื่อง 6 เดือน/ครั้ง เพื่อเฝ้าระวังความผิดปกติ ส่วนการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกปกติทุกคน )
ไม่พบสตรีกลุ่มเป้าหมายป่วยเป็นโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ใน ปี 2560 (ในปี 2559 ไม่พบผู้ป่วยโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม)
สิ่งที่ได้เรียนรู้
1.ได้เรียนรู้กระบวนการ วิธีการดำเนินงาน การประสานงานกับหน่วยงานต่างๆเพื่อการวางแผนทำงานในการจัดทำกิจกรรมโครงการ
2.ได้เรียนรู้การทำงานในชุมชน การติดตามเยี่ยมกลุ่มเป้าหมายเพื่อมารับการตรวจ ซึ่งเป็นกลุ่มที่ติดตามยากมาก
3.ได้เรียนรู้สภาพปัญหาของกลุ่มเป้าหมายแต่ละรายที่ไม่ยินยอมให้ความร่วมมือในการตรวจ ซึ่งทำให้เจ้าหน้าที่ต้องมาเรียนรู้หาวิธี แนวทางต่างๆที่จะโน้มน้าวใจให้กลุ่มเป้าหมายยินยอมมาตรวจให้ได้มากที่สุด
4.ประทับใจ อสม.เจ้าหน้าที่ ที่ให้ความร่วมมือในการติดตามกลุ่มเป้าหมายให้มารับบริการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกที่ รพ.สต. แม้บางรายจะต้องติดตามหลายครั้งแต่ทุกคนก็ให้ความร่วมมืออย่างเต็มใจ
ปัญหา/อุปสรรค
การคัดกรองมะเร็งปากมดลูก จะไม่ได้ตามเป้าหมาย เนื่องจากสตรีกลุ่มเป้าหมายส่วนใหญ่มีความอาย กลัวการตรวจ เลยไม่ยินยอมเข้ารับการตรวจมะเร็งปากมดลูก ส่วนใหญ่จะเป็นกลุ่มเป้าหมายเดิมๆ ที่ไม่ยินยอมตรวจ
แนวทางการแก้ไข
รณรงค์การตรวจทุกปี เปลี่ยนกลยุทธ์ วิธีการเชิญชวนกลุ่มเป้าหมายให้มีความแปลกใหม่ทุกปี เพื่อดึงดูดความสนใจให้กลุ่มเป้าหมายมาตรวจมากขึ้น
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
๑.เพื่อให้สตรีในกลุ่มเป้าหมาย อายุ ๓๐ – ๗๐ ปี มีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านม
ตัวชี้วัด : ๑.ระดับความรู้ของผู้เข้าอบรม ประเมินจากแบบสอบถาม เรื่อง ความรู้เรื่องโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมก่อนและหลังการอบรม เกณฑ์ร้อยละ ๘๐ ของผู้เข้าอบรมมีความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพที่ถูกต้องเพิ่มขึ้น
2
๒.เพื่อให้สตรีในกลุ่มเป้าหมาย อายุ ๓๐ – ๖๐ ปี เข้ารับการตรวจมะเร็งปากมดลูกเพิ่มมากขึ้น
ตัวชี้วัด : ๒.จำนวนผู้รับบริการได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมเพิ่มขึ้นจากปี ๒๕๕๙
3
๓.เพื่อให้สตรีในกลุ่มเป้าหมาย อายุ ๓๐ – ๗๐ ปีได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมและสามารถตรวจเต้านมด้วยตนเองได้อย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ๓. จำนวนผู้รับบริการที่พบความผิดปกติในระยะแรกได้รับการส่งต่อและรักษา
4
๔.เพื่อให้สตรีในกลุ่มเป้าหมาย อายุ ๓๐ – ๗๐ ปีที่ตรวจพบความผิดปกติได้รับการส่งต่อ และรับการรักษาได้ทันเวลา
ตัวชี้วัด : ๓. จำนวนผู้รับบริการที่พบความผิดปกติในระยะแรกได้รับการส่งต่อและรักษา
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
600
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
600
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑.เพื่อให้สตรีในกลุ่มเป้าหมาย อายุ ๓๐ – ๗๐ ปี มีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านม (2) ๒.เพื่อให้สตรีในกลุ่มเป้าหมาย อายุ ๓๐ – ๖๐ ปี เข้ารับการตรวจมะเร็งปากมดลูกเพิ่มมากขึ้น (3) ๓.เพื่อให้สตรีในกลุ่มเป้าหมาย อายุ ๓๐ – ๗๐ ปีได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมและสามารถตรวจเต้านมด้วยตนเองได้อย่างถูกต้อง (4) ๔.เพื่อให้สตรีในกลุ่มเป้าหมาย อายุ ๓๐ – ๗๐ ปีที่ตรวจพบความผิดปกติได้รับการส่งต่อ และรับการรักษาได้ทันเวลา
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการเฝ้าระวังและตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านม รพ.สต.บ้านควน 2 จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 60-L5307-1-06
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควน 2 )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการเฝ้าระวังและตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านม รพ.สต.บ้านควน 2 ”
ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควน 2
กันยายน 2560
ที่อยู่ ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 60-L5307-1-06 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 มกราคม 2560 ถึง 29 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเฝ้าระวังและตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านม รพ.สต.บ้านควน 2 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังและตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านม รพ.สต.บ้านควน 2
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเฝ้าระวังและตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านม รพ.สต.บ้านควน 2 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 60-L5307-1-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 มกราคม 2560 - 29 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 11,150.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันโรคมะเร็งเป็นสาเหตุการตายอันดับหนึ่งในประเทศไทย และมีแนวโน้มที่เพิ่มขึ้น โรคมะเร็งที่พบมากที่สุดในประเทศไทย คือ โรคมะเร็งตับ รองลงมาคือมะเร็งปอด มะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านม ตามลำดับ ในประเทศไทย โรคมะเร็งปากมดลูกเป็นโรคที่พบเป็นอันดับหนึ่งในสตรีไทย มีผู้ป่วยรายใหม่ประมาณปีละ ๖,๓๐๐ ราย พบมากที่สุดอายุระหว่าง ๔๕ – ๕๐ ปี ระยะที่พบส่วนใหญ่อยู่ในระยะลุกลาม อัตราการอยู่รอด ๕ ปี ประมาณร้อยละ ๖๐ จึงมีผู้ป่วยสะสมจำนวนมาก คาดว่าจะมีผู้ป่วยรายใหม่และรายเก่าที่ต้องติดตามทำการดูแลรักษาอยู่ไม่น้อยกว่า ๖๐,๐๐๐ คนทั่วประเทศ แต่อัตราการอยู่รอด ๕ ปีจะดีขึ้นถ้าพบในระยะเริ่มแรก (สถาบันมะเร็งแห่งชาติ,๒๕๕๐) ซึ่งจะเห็นว่าการป้องกันและควบคุมโรคตั้งแต่เริ่มต้นจึงมีความสำคัญ โดยการตรวจค้นหาเซลล์มะเร็งให้พบตั้งแต่อยู่ในระยะเริ่มแรกและในระยะก่อนเป็นมะเร็งซึ่งจะสามารถรักษาให้หายได้ และจะทำให้เสียค่าใช้จ่ายน้อยกว่าการรักษาในระยะลุกลาม และจากการศึกษา พบว่า การคัดกรองด้วยการทำ Pap smear และ VIA ในกลุ่มสตรีอายุ ๓๐ – ๖๐ ปี ทำให้ช่วยลดอัตราการเกิดและอัตราการตายจากโรคมะเร็งปากมดลูกได้ จากผลการดำเนินงานตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมของ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควนพบว่า ในปี ๒๕๕๓ – ๒๕๕๗ มีกลุ่มเป้าหมายที่ต้องตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก จำนวน ๔๔๙ คน ได้รับการตรวจ ๒๘๔ คน คิดเป็นร้อยละ ๖๓.๒๕ ตรวจพบความผิดปกติ จำนวน๒คน คิดเป็นร้อยละ ๐.๗๐และกลุ่มเป้าหมายที่ต้องตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมมี ๕๖๔ คน ได้รับการตรวจ ๕๐๙ คน คิดเป็นร้อยละ ๙๐.๒๔ตรวจพบความผิดปกติ จำนวน ๒ คน คิดเป็นร้อยละ๐.๓๙ และผลการดำเนินงานในปี ๒๕๕๘ – ๒๕๕๙ มีกลุ่มเป้าหมายที่ต้องตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก จำนวน ๕๐๗ คน ได้รับการตรวจ ๘๑ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๕.๙๗ ตรวจพบความผิดปกติ จำนวน ๖คน คิดเป็นร้อยละ ๗.๔๐และกลุ่มเป้าหมายที่ต้องตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมมี ๕๗๐ คน ได้รับการตรวจ ๕๑๗ คน คิดเป็นร้อยละ ๙๐.๗๐ตรวจพบความผิดปกติ จำนวน ๒ คน คิดเป็นร้อยละ๐.๓๘ซึ่งจะเห็นว่าสตรีวัยเจริญพันธ์ในกลุ่มเสี่ยงที่ได้รับการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูกยังมีจำนวนน้อย ทั้งนี้เนื่องมาจากประชาชน ยังมีทัศนคติที่ไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการตรวจ และความจำเป็นในการประกอบอาชีพ อีกทั้งอาจเข้าใจว่า โรคมะเร็งปากมดลูกไม่เกิดกับทุกคนเพราะในหมู่บ้านที่อาศัยอยู่ยังพบผู้ป่วยน้อยเมื่อเทียบกับโรคอื่นๆ ดังนั้นเพื่อให้การคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมในสตรีวัยเจริญพันธุ์ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายและสามารถพบผู้ที่มีความผิดปกติตั้งแต่ระยะแรกเริ่มก่อนเป็นโรคมากขึ้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควนจึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวังและตรวจคัดกรอง มะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านม ขึ้นโดยการจัดอบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมายสตรีที่ยังไม่ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักถึงความสำคัญในการตรวจมะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านมและมารับการตรวจเพิ่มมากขึ้น อีกทั้งสนองนโยบายรัฐบาลให้สตรีไทยได้รับการตรวจเฝ้าระวังและดูแลตนเองได้เพื่อการมีสุขภาพดีถ้วนหน้า
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ๑.เพื่อให้สตรีในกลุ่มเป้าหมาย อายุ ๓๐ – ๗๐ ปี มีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านม
- ๒.เพื่อให้สตรีในกลุ่มเป้าหมาย อายุ ๓๐ – ๖๐ ปี เข้ารับการตรวจมะเร็งปากมดลูกเพิ่มมากขึ้น
- ๓.เพื่อให้สตรีในกลุ่มเป้าหมาย อายุ ๓๐ – ๗๐ ปีได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมและสามารถตรวจเต้านมด้วยตนเองได้อย่างถูกต้อง
- ๔.เพื่อให้สตรีในกลุ่มเป้าหมาย อายุ ๓๐ – ๗๐ ปีที่ตรวจพบความผิดปกติได้รับการส่งต่อ และรับการรักษาได้ทันเวลา
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 600 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. สตรีกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูก, มะเร็งเต้านมและเข้ารับการตรวจเพิ่มมากขึ้น
๒. สตรีกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองค้นหา โรคมะเร็งปากมดลูก , มะเร็งเต้านม
๓. สตรีกลุ่มเป้าหมายที่พบความผิดปกติได้รับการส่งต่อ และได้รับการรักษาทุกราย
๔. สตรีกลุ่มเป้าหมายสามารถตรวจเต้านมด้วยตนเองได้ถูกต้อง
๕. สามารถลดอัตราการป่วยของโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. จัดอบรมให้ความรู้กลุ่มเป้าหมาย จำนวน 60 คน |
||
วันที่ 29 มิถุนายน 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมีผู้เข้ารับการอบรม จำนวน 60 คน ประเมินระดับความรู้ผู้เข้ารับการอบรม ก่อนอบรม ร้อยละ 61.11 ประเมินระดับความรู้ผู้เข้ารับการอบรม หลังอบรม ร้อยละ 84.22
|
60 | 60 |
2. จัดกิจกรรมประชาสัมพันธ์ อสม.ออกรณรงค์ให้กลุ่มเป้าหมาย ยอมตรวจมะเร็งเต้านม ปากมดลูก |
||
วันที่ 29 มิถุนายน 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นสตรีกลุ่มเป้าหมายเข้ารับการตรวจมะเร็งปากมดลูก ร้อยละ 33.33
|
100 | 50 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
กิจกรรม อบรมให้ความรู้ เกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านม
ผลการประเมิน ระดับความรู้ก่อนการอบรม ร้อยละ 61.11 ระดับความรู้หลังการอบรม ร้อยละ 84.22 กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เพิ่มมากขึ้น
กิจกรรมเข้าตรวจมะเร็งปากมดลูก
ผลการประเมิน สตรีกลุ่มเป้าหมายเข้ารับการตรวจมะเร็งปากมดลูกร้อยละ 33.33 สตรีกลุ่มเป้าหมาย 498 คน ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก 166 คน (ผลงานสะสม ปี 2558 - 2560) ปี 2560 เป้าหมาย 120 คน ได้รับการตรวจ 42 คน คิดเป็นร้อยละ 35.00
กิจกรรมตรวจมะเร็งเต้านม
ผลการประเมิน สตรีกลุ่มเป้าหมายเข้ารับการตรวจมะเร็งเต้านม ร้อยละ 84.33 (สตรีกลุ่มเป้าหมาย 600 คน ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม 506 ตน)
กลุ่มสตรีที่ตรวจพบ ความผิดปกติ 2 คน ได้รับการส่งต่อและรักษา 2 คน คิดเป็นร้อยละ 100 (สตรีที่พบความผิดปกติ คือ การตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมส่งต่อได้รับการตรวจรักษาแล้ว ไม่ได้เป็นมะเร็งเต้านม แพทย์นัดตรวจต่อเนื่อง 6 เดือน/ครั้ง เพื่อเฝ้าระวังความผิดปกติ ส่วนการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกปกติทุกคน )
ไม่พบสตรีกลุ่มเป้าหมายป่วยเป็นโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ใน ปี 2560 (ในปี 2559 ไม่พบผู้ป่วยโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม)
สิ่งที่ได้เรียนรู้
1.ได้เรียนรู้กระบวนการ วิธีการดำเนินงาน การประสานงานกับหน่วยงานต่างๆเพื่อการวางแผนทำงานในการจัดทำกิจกรรมโครงการ
2.ได้เรียนรู้การทำงานในชุมชน การติดตามเยี่ยมกลุ่มเป้าหมายเพื่อมารับการตรวจ ซึ่งเป็นกลุ่มที่ติดตามยากมาก
3.ได้เรียนรู้สภาพปัญหาของกลุ่มเป้าหมายแต่ละรายที่ไม่ยินยอมให้ความร่วมมือในการตรวจ ซึ่งทำให้เจ้าหน้าที่ต้องมาเรียนรู้หาวิธี แนวทางต่างๆที่จะโน้มน้าวใจให้กลุ่มเป้าหมายยินยอมมาตรวจให้ได้มากที่สุด
4.ประทับใจ อสม.เจ้าหน้าที่ ที่ให้ความร่วมมือในการติดตามกลุ่มเป้าหมายให้มารับบริการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกที่ รพ.สต. แม้บางรายจะต้องติดตามหลายครั้งแต่ทุกคนก็ให้ความร่วมมืออย่างเต็มใจ
ปัญหา/อุปสรรค
การคัดกรองมะเร็งปากมดลูก จะไม่ได้ตามเป้าหมาย เนื่องจากสตรีกลุ่มเป้าหมายส่วนใหญ่มีความอาย กลัวการตรวจ เลยไม่ยินยอมเข้ารับการตรวจมะเร็งปากมดลูก ส่วนใหญ่จะเป็นกลุ่มเป้าหมายเดิมๆ ที่ไม่ยินยอมตรวจ
แนวทางการแก้ไข
รณรงค์การตรวจทุกปี เปลี่ยนกลยุทธ์ วิธีการเชิญชวนกลุ่มเป้าหมายให้มีความแปลกใหม่ทุกปี เพื่อดึงดูดความสนใจให้กลุ่มเป้าหมายมาตรวจมากขึ้น
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ๑.เพื่อให้สตรีในกลุ่มเป้าหมาย อายุ ๓๐ – ๗๐ ปี มีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านม ตัวชี้วัด : ๑.ระดับความรู้ของผู้เข้าอบรม ประเมินจากแบบสอบถาม เรื่อง ความรู้เรื่องโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมก่อนและหลังการอบรม เกณฑ์ร้อยละ ๘๐ ของผู้เข้าอบรมมีความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพที่ถูกต้องเพิ่มขึ้น |
|
|||
2 | ๒.เพื่อให้สตรีในกลุ่มเป้าหมาย อายุ ๓๐ – ๖๐ ปี เข้ารับการตรวจมะเร็งปากมดลูกเพิ่มมากขึ้น ตัวชี้วัด : ๒.จำนวนผู้รับบริการได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมเพิ่มขึ้นจากปี ๒๕๕๙ |
|
|||
3 | ๓.เพื่อให้สตรีในกลุ่มเป้าหมาย อายุ ๓๐ – ๗๐ ปีได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมและสามารถตรวจเต้านมด้วยตนเองได้อย่างถูกต้อง ตัวชี้วัด : ๓. จำนวนผู้รับบริการที่พบความผิดปกติในระยะแรกได้รับการส่งต่อและรักษา |
|
|||
4 | ๔.เพื่อให้สตรีในกลุ่มเป้าหมาย อายุ ๓๐ – ๗๐ ปีที่ตรวจพบความผิดปกติได้รับการส่งต่อ และรับการรักษาได้ทันเวลา ตัวชี้วัด : ๓. จำนวนผู้รับบริการที่พบความผิดปกติในระยะแรกได้รับการส่งต่อและรักษา |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 600 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 600 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑.เพื่อให้สตรีในกลุ่มเป้าหมาย อายุ ๓๐ – ๗๐ ปี มีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านม (2) ๒.เพื่อให้สตรีในกลุ่มเป้าหมาย อายุ ๓๐ – ๖๐ ปี เข้ารับการตรวจมะเร็งปากมดลูกเพิ่มมากขึ้น (3) ๓.เพื่อให้สตรีในกลุ่มเป้าหมาย อายุ ๓๐ – ๗๐ ปีได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมและสามารถตรวจเต้านมด้วยตนเองได้อย่างถูกต้อง (4) ๔.เพื่อให้สตรีในกลุ่มเป้าหมาย อายุ ๓๐ – ๗๐ ปีที่ตรวจพบความผิดปกติได้รับการส่งต่อ และรับการรักษาได้ทันเวลา
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการเฝ้าระวังและตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านม รพ.สต.บ้านควน 2 จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 60-L5307-1-06
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควน 2 )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......